Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45272
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุสรณ์ ลิ่มมณี-
dc.contributor.authorเพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-14T09:30:26Z-
dc.date.available2015-09-14T09:30:26Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45272-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีคำถามหลักในการวิจัยว่า 1.กระบวนการกำหนดนโยบายโฉนดชุมชนนั้นมีที่มา และขั้นตอนในการกำหนดนโยบายอย่างไร และ 2.กระบวนการกำหนดนโยบายโฉนดชุมชนมีตัวแสดงใดบ้างที่เข้ามามีบทบาทหรือมีส่วนร่วม และตัวแสดงเหล่านั้นมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไรภายในกระบวนการกำหนดนโยบายโฉนดชุมชน ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการกำหนดนโยบายนั้นเริ่มต้นจากการผลักดันของเครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย (คปท.) และการตอบรับของพรรคประชาธิปัตย์ในฐานะรัฐบาลโดยประกอบไปด้วยตัวแสดงหลักคือ เครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย, พรรคประชาธิปัตย์ในฐานะรัฐบาล และข้าราชการประจำที่มีบทบาทเกี่ยวข้อง โดยความสัมพันธ์ในการกำหนดนโยบายระหว่างตัวแสดงดังกล่าวเป็นไปในรูปแบบของปฏิสัมพันธ์ระหว่างบริบทเชิงโครงสร้างทางการเมือง, บริบทเชิงโครงสร้างทางกฎหมายและบริบทเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ-สังคมซึ่งได้แก่ วิกฤตการณ์ทางการเมือง, การแข่งขันเชิงนโยบายแบบประชานิยม, โครงสร้างทางกฎหมายไทย, ปัญหาเชิงโครงสร้างด้านที่ดินของไทย และองค์ความรู้ในแง่ของเครื่องมือเชิงนโยบายแบบโฉนดชุมชน ตามลำดับ โดยความสัมพันธ์ภายในเครือข่ายนโยบายและตัวแสดงทางนโยบายข้างต้นนั้นเป็นไปในลักษณะของการเจรจาต่อรอง, การกดดัน, การประนีประนอม และการประสานประโยชน์ระหว่างตัวแสดงทางนโยบายทั้งสามฝ่ายen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to explore how "Community Land Title Deed Policy" is made, who are the main actors and how they interact with one another. It is found in this study that this policy has been initiated by Thai Land Reform Network and responded by the ruling Democrat Party. The Major actors in the policy making consist of Thai Land Reform Network, Democratic Party and related government agencies. Their interaction are carried out within such political, legal, socio-economic contexts as political crisis, populist competition among political parties, Thailand's legal structure and innovation approach to land title deed policy. The relationships are mainly expressed in terms of bargaining negotiation, pressure, compromise and co-ordination among the stakeholders.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1318-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectประชานิยมen_US
dc.subjectพรรคประชาธิปัตย์en_US
dc.subjectที่ดิน -- นโยบายของรัฐ -- ไทยen_US
dc.subjectที่ดิน -- การจัดการ -- ไทยen_US
dc.subjectที่ดินของรัฐ -- การจัดการ -- ไทยen_US
dc.subjectPopulismen_US
dc.subjectDemocrat Partyen_US
dc.subjectLand use -- Government policy -- Thailanden_US
dc.subjectLand use -- Management -- Thailanden_US
dc.titleการเมืองของกระบวนการกำหนดนโยบายโฉนดชุมชนen_US
dc.title.alternativePolitics of community land title deeds policy making processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAnusorn.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1318-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phermsak_ch.pdf4.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.