Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45319
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐนันท์ คุณมาศ | - |
dc.contributor.author | ภัทรพงศ์ สาลักษณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2015-09-16T03:36:31Z | - |
dc.date.available | 2015-09-16T03:36:31Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45319 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en_US |
dc.description.abstract | ศึกษาถึงบทบาทของไทยในระเบียบระหว่างประเทศในการระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลก เพื่อคลี่คลายข้อพิพาททางการค้ากับสหภาพยุโรปในเรื่องการอุดหนุนการส่งออกน้ำตาล นอกจากนั้นไทยได้สร้างความร่วมมือและการสนับสนุนจากประเทศต่างๆ ที่เป็นประเทศคู่กรณีพิพาทร่วมกับไทย อันได้แก่ บราซิลและออสเตรเลีย เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองในกรณีข้อพิพาท โดยผู้วิจัยได้อาศัยแนวคิดระเบียบระหว่างประเทศมาเป็นกรอบในการวิเคราะห์ จากการศึกษาพบว่า ประการแรก องค์การการค้าโลก ถือเป็นระเบียบระหว่างประเทศที่ครอบคลุมประเด็นทางด้านการค้า และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการค้าในยุคปัจจุบัน และได้รับการยอมรับและถือปฏิบัติจากนานาประเทศ มีการระบุลักษณะของการปกป้องทางการค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งการอุดหนุนการส่งออก ตลอดจนมีกระบวนการระงับข้อพิพาทที่พัฒนาขึ้นจากข้อตกลงแกตต์เดิม ให้มีลักษณะเป็นขั้นตอนและเป็นรูปธรรม เพื่อแก้ไขปัญหาและข้อขัดแย้งทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน จึงทำให้องค์การการค้าโลกกลายมาเป็นที่พึ่งสำคัญของประเทศกำลังพัฒนาที่ส่งออกสินค้าเกษตรอย่างไทย ดังแสดงให้เห็นได้จากกรณีศึกษาข้อพิพาทกับสหภาพยุโรป เรื่องการอุดหนุนการส่งออกน้ำตาล ประการที่สอง กระบวนการระงับข้อพิพาทเปิดโอกาสในการสร้างกลุ่มพันธมิตรของไทย และกลไกในการระงับข้อพิพาทได้ทำให้ไทยและโจทก์ร่วมอย่างออสเตรเลียและบราซิลเป็นฝ่ายชนะ การต่อรองกับสหภาพยุโรปภายใต้ระเบียบระหว่างประเทศอย่างองค์การการค้าโลก จึงไม่อิงกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจเหมือนกับการเจรจาต่อรองในรูปแบบทวิภาคี | en_US |
dc.description.abstractalternative | To study how Thailand utilized the World Trade Organization (WTO) dispute settlement regime to settle its trade conflicts with the European Union (EU) over the latter’s export subsidies on sugar. To increase its leverage in the settlement process, Thailand also sought supports and cooperation with other affected countries, such as Brazil and Australia. Using international regime as a framework of analysis, the thesis has several findings. First, the WTO proves to be today’s most vital international regime dealing with trade and trade related issues between nations, respected and followed by many. The organization has clearly specified types of trade protectionisms, particularly the export subsidies. It also has a concrete systematic and practical dispute settlement process, developed from the former General Agreements on Tariffs and Trades (GATT), among the member countries to eliminate any kinds of trade disputes. The dispute settlement body (DSB) has made the WTO to be the reliable mechanism for the developing countries mainly exporting agricultural products like Thailand, as shown in the case-study of the dispute settlement with the EU export subsidies on sugar. Second, the dispute settlement mechanism (DSM) has allowed Thailand to form alliance and won the cases along with Australia and Brazil. Therefore, issues of power relations among nations are less influential under international regime of the WTO unlike the bilateral ones. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2012 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | องค์การการค้าโลก | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมน้ำตาล | en_US |
dc.subject | ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า | en_US |
dc.subject | การระงับข้อพิพาท | en_US |
dc.subject | ไทย -- การค้ากับต่างประเทศ -- กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป | en_US |
dc.subject | กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป -- การค้ากับต่างประเทศ -- ไทย | en_US |
dc.subject | World Trade Organization | en_US |
dc.subject | Sugar trade | en_US |
dc.subject | General Agreement on Tariffs and Trade (Organization) | en_US |
dc.subject | Dispute resolution (Law) | en_US |
dc.subject | Thailand -- International trade -- European Union countries | en_US |
dc.subject | European Union countries -- International trade -- Thailand | en_US |
dc.title | องค์การการค้าโลกกับการแก้ไขข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศไทยกับสหภาพยุโรป : ศึกษากรณีพาทการอุดหนุนการส่งออกน้ำตาลของสหภาพยุโรปในช่วงปี ค.ศ. 2004-2009 | en_US |
dc.title.alternative | The World Trade Organization and its dispute settlement between Thailand and the European Union : a case study of The European Union export subsidies on sugar during 2004-2009 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.2012 | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pattarapong_sa.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.