Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45394
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอกชัย ลีลารัศมีen_US
dc.contributor.authorไพโรจน์ ศิรินามารัตนะen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:01:32Z
dc.date.available2015-09-17T04:01:32Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45394
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractสำหรับในประเทศที่แรงงานมีราคาสูง หรือการติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์ในจุดที่ยากจะเข้าถึง อาทิเช่น บนหลังคา หรือผนังด้านนอกอาคาร ระบบตรวจวัดแบบละเอียดไปถึงระดับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ทุกๆแผงเพื่อช่วยหาจุดเสียแบบอัตโนมัติจึงเริ่มเข้ามามีบทบาท ซึ่งส่วนใหญ่แล้วแผงเซลล์แสงอาทิตย์เหล่านี้จะถูกนำมาต่อกันแบบอนุกรมเพื่อให้แรงดันไฟฟ้าสูงขึ้น ดังนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงใคร่ขอนำเสนอเทคนิควิธีตลอดจนวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเฝ้าสังเกตสมรรถนะของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ต่อกันแบบอนุกรมผ่านสายส่งไฟฟ้ากำลัง โดยใช้การสื่อสารแบบพัลส์ขนาดใหญ่ โดยวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนของระบบตรวจวัดและไม่สูญเสียพลังงานเมื่อไม่มีการตรวจวัด ในเบื้องต้นได้มีการศึกษาระบบที่มีอยู่เดิมจากทั้งทางบทความทางวิชาการและสิทธิบัตร และใช้การคำนวณความน่าเชื่อถือของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อคำนวณความน่าเชื่อถือของระบบตรวจวัดแบบต่างๆ ตามมาด้วยการวัดคุณสมบัติทางไฟฟ้าและสร้างวงจรจำลองของแผงเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อนำมาช่วยให้การจำลองการทำงานการสื่อสารผ่านสายส่งไฟฟ้ากำลังทั้งแบบใช้คลื่นพาหะและแบบสัญญาณพัลส์ให้มีความสมจริงมากยิ่งขึ้น รวมไปถึงการทดลองการรับส่งข้อมูลด้วยสัญญาณพัลส์ขนาดใหญ่ผ่านสายส่งไฟฟ้ากำลังบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ต่อกันแบบอนุกรมภายใต้สภาพแสงแดดแรงและแสงแดดอ่อน อีกทั้งยังนำเสนอการปรับปรุงระบบการตรวจวัดคุณภาพแผงเซลล์แสงอาทิตย์ซึ่งใช้การสื่อสารด้วยพัลส์โดยคำนึงถึงการใช้งานจริง พร้อมทั้งได้จำลองการทำงานระบบที่นำเสนอนี้ด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeFor high labor cost country or hard to reach location such as Building Integrated Photovoltaic power plant (BIPV), an automatic monitoring system through each photovoltaic (PV) panel is very helpful to determine fault locations. This thesis proposes a novel technique, including with its electronic circuits, to monitor each PV panel performance through a series connected PV panel string by using large pulse communication technique. Objective of the design is to achieve lower monitoring circuit cost and zero power standby. The thesis describes existing PV monitoring systems on both academic papers and patents. Then, an electronic reliability prediction is used to estimate reliability of these systems. Before our circuit design, electrical parameters of an amorphous silicon PV panel is measured and modeled as electronic circuits to make circuit simulation results closer to real situation. Transmitting carries frequency and large pulse communication through a PV string are simulated and analyzed. The chosen technique, large pulse communication, is tested on a PV string under strong and weak sunlight conditions. Finally, the pulse communication is modified to meet practical usages; and its simulation result is also provided.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.901-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการผลิตพลังงานไฟฟ้าโฟโตวอลเทอิก
dc.subjectการสื่อสารด้วยระบบดิจิทัล
dc.subjectPhotovoltaic power generation
dc.subjectDigital communications
dc.subjectElectric lines -- Carrier transmission
dc.titleการสื่อสารด้วยสัญญาณพัลส์ผ่านสายส่งไฟฟ้ากำลังเพื่อเฝ้าสังเกตสมรรถนะแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ต่อกันแบบอนุกรมen_US
dc.title.alternativePOWER LINE PULSE COMMUNICATION FOR PERFORMANCE MONITORING OF SERIES CONNECTED SOLAR PANELSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorekachai.l@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.901-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5371803021.pdf4.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.