Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาวดี อร่ามวิทย์en_US
dc.contributor.authorวัชระ เรืองสังข์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:01:50Z
dc.date.available2015-09-17T04:01:50Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45426
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractในทุกวันนี้ ระบบภาพโทรทัศน์วงจรปิดถูกใช้งานแพร่หลายในระบบการสอดส่องดูแล อย่างไรก็ดี คุณภาพของภาพวีดิทัศน์ขาออกจากโทรทัศน์วงจรปิดในบางกรณี อาจจะมีความละเอียดต่ำ เนื่องมาจากข้อกำหนดของกล้อง สภาพแสง และมุมกล้อง จึงเป็นการยากที่จะสกัดข่าวสารที่มีประโยชน์เพื่อทำการวิเคราะห์ ระบุหรือรู้จำ ในวิทยานิพนธ์นี้เราศึกษาระเบียบวิธีการสร้างคืนภาพความละเอียดสูงยวดยิ่งเพื่อสร้างภาพความละเอียดสูงจากภาพความละเอียดต่ำ ระเบียบวิธีที่นำเสนอใช้การแทนแบบมากเลขศูนย์และพจนานุกรมแบบวิเคราะห์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน: กระบวนการเรียนรู้ และกระบวนการสร้างใหม่ในกระบวนการเรียนรู้ พจนานุกรมแบบวิเคราะห์ถูกสร้างโดยการแทนแบบมากเลขศูนย์ ส่วนกระบวนการสร้างใหม่เป็นกระบวนการที่สร้างภาพความละเอียดสูงใช้การเข้ารหัสแบบมากเลขศูนย์ เมทริซ์แบบมากเลขศูนย์จะถูกสร้างโดยระเบียบวิธี อีลาสติกเน็ตแบบปรับตัวได้ การทดลองถูกทดสอบโดยภาพทั่วไป ภาพใบหน้า ภาพป้ายทะเบียนรถ และภาพวีดิทัศน์ การประเมินสมรรถนะเชิงวัตถุวิสัยใช้การวัดรากของค่าเฉลี่ยความผิดพลาดกำลังสอง และอัตราส่วนค่าสัญญาณสูงสุดต่อสัญญาณรบกวน สมรรถนะของระเบียบวิธีที่นำเสนอถูกเปรียบเทียบกับ ระเบียบวิธีการประมาณค่าในช่วงแบบไบคิวบิกและระเบียบวิธีอ้างอิงอื่นๆ จากผลการทดลอง ระเบียบวิธีที่นำเสนอสามารถสร้างภาพความละเอียดสูงโดยมีคุณภาพที่ดีขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีอ้างอิงอื่นen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, closed-circuit television (CCTV) systems are widely used in surveillance systems. However, the qualities of output videos from CCTV in some cases are lower in resolution due to camera specification, lighting conditions, or camera angles. It is a thus difficult to extract useful information for further analysis, identification, and recognition. In this thesis, we investigate image super-resolution method to reconstruct high resolution image from low resolution ones. The proposed method using sparse representation and analysis dictionary can be divided into two stages: learning process and reconstruction process. In the learning process, an analysis dictionary is created by using sparse representation. Reconstruction process is the process that produces high-resolution image using sparse coding. A sparse matrix is generated by Adaptive Elastic Net. The experiments are tested using general, face, license plate images, and video. For objective evaluation of the performance, Root Mean Square Error (RMSE) and Peak Signal to Noise Ratio (PSNR) values are measured. The performance of proposed method is compared with Bicubic Interpolation and other referenced methods. Based on the experimental results, the proposed method produce higher resolution image with improved quality compared to other reference methods.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.916-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้ของเครื่อง
dc.subjectอัลกอริทึม
dc.subjectMachine learning
dc.subjectAlgorithms
dc.subjectHigh resolution imaging
dc.subjectImage reconstruction
dc.titleการสร้างคืนภาพความละเอียดสูงยวดยิ่งโดยการใช้การแทนแบบมากเลขศูนย์ด้วยพจนานุกรมแบบวิเคราะห์en_US
dc.title.alternativeSUPER-RESOLUTION IMAGE RECONSTRUCTION USING SPARSE REPRESENTATION WITH ANALYSIS DICTIONARYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsupavadee.aaaa@gmail.com,supavadee.a@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.916-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5470363021.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.