Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรทัย ชวาลภาฤทธิ์en_US
dc.contributor.advisorเพ็ญศรี วัจฉละญาณen_US
dc.contributor.authorกนกวรรณ สุขรักษ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:02:45Z
dc.date.available2015-09-17T04:02:45Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45511
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเส้นทางและปริมาณการไหลของสารปรอทจากอะมัลกัมที่ใช้ในงานทันตกรรม โดยการเก็บตัวอย่างและทำสมดุลมวลของอะมัลกัมที่ใช้อุดฟันคนไข้ พบว่า มีปรอทที่ติดกับฟัน (In Teeth) ประมาณร้อยละ 43.76 ส่วนที่เหลือจากการปั่นผสม (RA) ร้อยละ 31.49 และส่วนเกินจากการขัดแต่ง (Carving) ร้อยละ 24.73 โดยแบ่งเป็นส่วนที่ติดกับสำลี (SW) คิดเป็นร้อยละ 14.95 และส่วนที่ติดไปกับน้ำทิ้งจากการบ้วนและเครื่องดูดน้ำลาย (DWW) ร้อยละ 9.78 และพบปรอทติดอยู่ในส่วนของเปลือกแคปซูลและถุงพลาสติกที่บรรจุปรอทภายในแคปซูลร้อยละ 0.02 หรือ 0.082 มิลลิกรัมต่อแคปซูล เมื่อนำมาคิดเป็นสัดส่วนการปล่อยปรอทสู่สิ่งแวดล้อม โดยอนุมานว่า ในปี พ.ศ.2557 มีจำนวนฟันที่ได้รับการอุดด้วยอะมัลกัมจำนวน 31,800,326 ซี่ จะพบว่า มีปริมาณปรอทส่วนที่ติดกับสำลี ส่วนที่หลุดรอดไปกับน้ำทิ้ง ส่วนที่เหลือจากการปั่นผสม และส่วนที่ติดไปกับเปลือกแคปซูลเกิดขึ้นประมาณ 2.18 1.43 4.11 และ 0.002516 ตันต่อปี ตามลำดับ คิดเป็นปริมาณปรอทที่ระบายสู่สิ่งแวดล้อมจากการอุดฟันสูงเท่ากับ 7.71 ตันต่อปี และจากการศึกษาแนวทางในการบริหารจัดการเพื่อลดการปล่อยสารปรอทสู่สิ่งแวดล้อมโดยการติดตั้งระบบดักจับอะมัลกัม ในหน่วยทันตกรรม 6 แห่ง เป็นระยะเวลา 6 เดือน พบว่า ระบบสามารถลดการปล่อยปรอทสู่สิ่งแวดล้อมในรูปของมลพิษทางน้ำได้ประมาณร้อยละ 81.95en_US
dc.description.abstractalternativeThis study investigated the flow and amount of mercury from dental amalgam waste. The sample of amalgam each patient was collected and mass balance calculated by case by case. It was found that the fraction of mercury in In teeth was 43.76%, residual amalgam (RA) was 31.49% and carved surplus of amalgam (Carving) was 24.74%, that can contribution to attached with cotton gauze (SW) 14.95% and flowing through the sewer system (DWW) 9.78%., and capsule cover was 0.02 or 0.082 mg/capsule. The proportion of mercury emissions into the environment can prediction by the number of teeth with amalgam fillings of Thailand in 2557 B.E. It was found that fraction of mercury contain with SW, DWW, RA and Capsule Cover was 2.18 1.43 4.11 and 0.002516 ton per year, respectively and 7.71 ton of total mercury which has the potential to be discarded in the environment. The efficiency of amalgam separator, its install 6 dental clinics, can be removed mercury from sewer system was 81.95%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.957-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปรอท
dc.subjectปรอท -- พิษวิทยา
dc.subjectปรอทในร่างกาย
dc.subjectโลหวิทยาทางทันตกรรม
dc.subjectทันตวัสดุ
dc.subjectวัสดุบูรณะ (ทันตกรรม)
dc.subjectการลดปริมาณของเสีย
dc.subjectMercury
dc.subjectMercury -- Toxicology
dc.subjectMercury in the body
dc.subjectDental metallurgy
dc.subjectDental materials
dc.subjectFillings (Dentistry)
dc.subjectWaste minimization
dc.titleการวิเคราะห์การไหลของสารปรอทจากอะมัลกัมในงานทันตกรรมen_US
dc.title.alternativeSUBSTANCE FLOW ANALYSIS OF MERCURY FROM DENTAL AMALGAM WASTEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorOrathai.C@chula.ac.th,orathai.c@chula.ac.then_US
dc.email.advisorpensri.4@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.957-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570103321.pdf7.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.