Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45529
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์en_US
dc.contributor.authorภัทคณิฐ ศรประสิทธิ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:02:55Z-
dc.date.available2015-09-17T04:02:55Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45529-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractเนื่องจากโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ขนาดกลางและขนาดเล็ก (Small and Medium Enterprises : SMEs) ของไทยส่วนใหญ่พบปัญหาเรื่องระบบการผลิตขาดประสิทธิภาพ ทำให้มีต้นทุนการผลิตสูง การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแนวทางในการพัฒนาระบบผลิตแบบดึง (Pull System) สำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ขนาดกลางและขนาดเล็ก ในประเทศไทย โดยการสัมภาษณ์ผู้ดูแลระบบการผลิตของโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ขนาดใหญ่ที่ใช้ระบบการผลิตแบบดึงได้อย่างมีประสิทธิภาพในประเทศไทยจำนวน 5 โรงงาน จากนั้นนำข้อมูลในอดีตเกี่ยวกับการพัฒนาระบบผลิตเข้าสู่ระบบดึงของโรงงานกรณีศึกษามาวิเคราะห์ เรียบเรียงและจัดทำเป็นแนวทางในการพัฒนาเข้าสู่ระบบดึงสำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศไทย อย่างเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาระบบผลิตเข้าสู่ระบบดึงสำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศไทย ควรมีลำดับขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ 1) จัดตั้งหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง 2) อบรมให้ความรู้แก่พนักงาน 3) ทำกิจกรรม 5ส และการควบคุมด้วยสายตา 4) ทำการฝึกอบรมข้ามสายงาน 5) นำบัตรคัมบังมาปฏิบัติ 6) จัดทำงานที่เป็นมาตรฐาน และเมื่อสามารถดำเนินการในขั้นตอนต่างๆประสบความสำเร็จแล้ว ควรมีการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานอยู่เป็นระยะ เพื่อรักษาเป้าหมายและมาตรฐาน รวมทั้งยกระดับคุณภาพกระบวนการผลิตของโรงงานต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeSince the majority of small and medium automotive - parts enterprises in Thailand have currently encountered the inefficiency of manufacturing systems, which increases in production costs. This study aimed at providing guidelines to develop the pull production system for these enterprises. Using an interview as the main methodology, The production administrators in five large Thai automotive parts companies, which have effective the pull production system, have been interviewed. Subsequently, the information received from these production administrators has been analyzed, organized, and developed into the suitable guidelines for the pull production system development in the small and medium automotive parts enterprises. The results have suggested that in order to promote the pull production system in the small and medium enterprises, the company should operate as follows; 1) establish specific working sectors whose responsibilities are directly related to the pull production system, 2) train employees, 3) do 5S activity and visual control, 4) conduct cross-functional training, 5) bring Kanban into practice, and 6) set work standards. Once these steps have been fully applied and the production system of the company has been developed into the pull production system, the company should examine the performance of the system intermittently in order to maintain the standards and improve the quality of the production system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleแนวทางในการพัฒนาระบบผลิตแบบดึงสำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeROAD MAP OF DEVELOPMENT FOR PULL SYSTEM IN THAILAND SMALL AND MEDIUM AUTOMOTIVE PART MANUFACTURERen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJeerapat.N@Chula.ac.th,Jeirapat.N@Chula.ac.th,Jeerapat.N@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570323021.pdf5.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.