Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45544
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกริก ภิรมย์โสภา | en_US |
dc.contributor.advisor | อัครินทร์ ไพบูลย์พานิช | en_US |
dc.contributor.author | ภาสกร ยูถะสุนทร์ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-17T04:03:02Z | - |
dc.date.available | 2015-09-17T04:03:02Z | - |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45544 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | ผู้วิจัยได้นำเสนอการประเมินประสิทธิภาพแคปช่าโดยการนำวิธีทางสถิติมาประยุกต์ใช้ คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าจักรกลไม่สามารถอ่านตัวอักษรจากรูปภาพได้ ข้อเท็จจริงบางส่วนนี้นำมาสู่การประดิษฐ์แคปช่า ด้วยการผสมตัวอักษรเป็นกลุ่มคำสั้นๆ ที่สามารถนำมาใช้บ่งชี้ว่าผู้ใช้งานเป็นมนุษย์หรือจักรกล อย่างไรก็ตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการรู้จำตัวอักษรของจักรกลส่งผลให้จักรกลสามารถต่อกรกับแคปช่าได้ นักออกแบบแคปช่าจึงต้องหาวิธีการรับมือเพื่อป้องกันการโจมตีของบรรดาบ็อทเน็ต และในขณะเดียวกันก็ต้องออกแบบแคปช่าที่ควรจะง่ายต่อการใช้งานของมนุษย์ ทั้งสองสิ่งนี้เป็นวัตถุประสงค์สำคัญในการประดิษฐ์แคปช่าไม่สามารถแยกจากกันได้ เฉกเช่นเดียวกับกระประเมินประสิทธิภาพแคปช่าที่จะต้องประเมินทั้งมิติการใช้งานของมนุษย์และมิติด้านการป้องกันจักรกลควบคู่กันไป โดยงานวิจัยครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นว่าแคปช่ารูปแบบของ Yahoo เป็นแคปช่าที่เป็นมิตรกับการใช้งานมากที่สุด ซึ่งเป็นรูปแบบตัวอักษรทั่วไปแต่มีคุณลักษณะสำคัญที่สามารถป้องการแบ่งกลุ่มตัวอักษรได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | We propose statistical methods for evaluating the efficiency of CAPTCHA. Most people unfairly assumed that machines are not capable at reading precisely. This fact leads to the invention of CAPTCHA, a distorted word or short phase, which is designed to thwart computers and separate human from machines. However, advances in image recognition technologies mean that machines are constantly getting better at recognizing CAPTCHA. This forces CAPTCHA designers to design even more difficult CAPTCHAs to prevent their systems from being gamed by malicious bots. However, this arm race has an unintended side effect on the common users. Many CAPTCHAs are now so hard that many people are unable to read them. This obviously conflicts with the original purpose that CAPTCHA was invented in the first place. Our analysis shows that some CAPTCHAs are more friendly. In particular, Yahoo-style CAPTCHA is the most friendliness. This suggests that a good CAPTCHA could be a simple text with some noises that prevent machine from correctly segmenting characters. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การประเมินประสิทธิภาพแคปช่า | en_US |
dc.title.alternative | Evaluation of CAPTCHA Efficiency | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Krerk.P@Chula.ac.th,Krerk.P@Chula.ac.th | en_US |
dc.email.advisor | Akarin.P@chula.ac.th | en_US |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5570557621.pdf | 3.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.