Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขันทอง สุนทราภาen_US
dc.contributor.authorรสรินทร์ อำไพโรจนวงศ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:03:13Z
dc.date.available2015-09-17T04:03:13Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45566
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เตรียมไบโอดีเซลจากวัตถุดิบดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์มที่มีปริมาณกรดไขมันอิสระสูงร้อยละ 87.1±1.3 โดยน้ำหนัก ด้วยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันต่อเนื่องด้วยปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน โดยไม่มีขั้นตอนการล้างระหว่างกลางในเครื่องปฎิกรณ์เมมเบรนไคโตซานเพอร์แวพอเรชัน 3 แบบ เรียกว่า แบบภายใน แบบภายนอก และแบบผสม ทำการศึกษาเมมเบรนไคโตซานเนื้อแน่น 2 ชนิด ได้แก่ แบบเชื่อมขวาง และแบบไม่เชื่อมขวาง พบว่าเมมเบรนแบบไม่เชื่อมขวางมีความเหมาะสมมากกว่า เนื่องจากมีความชอบน้ำมากกว่า สามารถกันไม่ให้เมทานอล ดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์ม และเมทิลเอสเทอร์แพร่ผ่านเมมเบรนไปได้ ภาวะการดำเนินปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันที่เหมาะสมในเครื่องปฎิกรณ์เมมเบรนไม่เชื่อมขวางแบบภายใน คือ ใช้อัตราส่วนดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์มต่อเมทานอล 1:15 ปริมาณกรดซัลฟิวริกร้อยละ 2 โดยน้ำหนักของดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์ม อัตราการป้อนเมทานอล 20 มล./นาที เป็นเวลา 180 นาที เหลือกรดไขมันอิสระร้อยละ 1.24±0.01 โดยน้ำหนัก และมีปริมาณเมทิลเอสเทอร์ร้อยละ 83.9±0.6 โดยน้ำหนัก สำหรับเครื่องปฏิกรณ์เมมเบรนไม่เชื่อมขวางแบบภายนอก และแบบผสมใช้ภาวะเดียวกัน ที่อัตราส่วนดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์มต่อเมทานอล 1:15 ปริมาณกรดซัลฟิวริกร้อยละ 2 โดยน้ำหนักของดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์ม อัตราการป้อนเมทานอล 20 มล./นาที เป็นเวลา 120 นาที เหลือกรดไขมันอิสระร้อยละ 1.12±0.01 และ 1.09±0.03 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ และมีปริมาณเมทิลเอสเทอร์ร้อยละ 85.4±0.3 และ 85.9±0.2 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ ภาวะการดำเนินปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันที่เหมาะสมเหมือนกันในทุกชนิดเครื่องปฏิกรณ์ ที่อัตราส่วนดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์มต่อเมทานอล 1:6 ปริมาณโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 1 โดยน้ำหนักของดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์มตั้งต้น อัตราการป้อนเมทานอล 20 มล./นาที เป็นเวลา 60 นาที เมื่อสิ้นสุดกระบวนการทั้งหมด กล่าวได้ว่าเครื่องปฏิกรณ์เมมเบรนแบบภายนอก และแบบผสมให้ผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซลได้สมบัติตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยเครื่องปฏิกรณ์ที่เหมาะสมมากกว่า คือ เครื่องปฏิกรณ์เมมเบรนแบบผสม แต่ยกเว้นค่าความเป็นกรดที่ยังสูงเกินค่ามาตรฐานฯของ EN 14214 และของประเทศไทย แต่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฯของ ASTM D6751-02en_US
dc.description.abstractalternativeBiodiesel from palm fatty acid distillate (PFAD) with FFAs of 87.1±1.3 wt% was prepared in this study. The process comprised of esterification reaction followed by transesterification reaction without intermediate washing in chitosan membrane reactors that operating under pervaporation principle. The reactors were characterized as internal-pervaporation-assisted, external-pervaporation-assisted and mix-pervaporation-assisted types. It was found that the uncrosslinked dense chitosan membrane was more desirable than the crosslinked dense chitosan membrane because of its higher hydrophilicity with the same rejection properties of methanol, PFAD and methyl ester. The optimum esterification condition for internal uncrosslinked membrane reactor was at 1:15 PFAD:methanol, 2.0 wt% H2SO4 and 20 ml/min methanol feed rate for 180 min. The esterification product containing FFA and methyl ester of 1.24±0.01 and 83.9±0.6 wt%, respectively, was obtained. That for the external and mix types were the same at 1:15 PFAD:methanol, 2.0 wt% H2SO4 and 20 ml/min methanol feed rate for 120 min. The product from the external type reactor contained FFA and methyl ester of 1.12±0.01 and 85.4±0.3 wt%, respectively. Those from the mix type reactor were 1.09±0.03 and 85.9±0.2 wt%, respectively. The transesterification ondition was the same in all reactors at 1:6 PFAD:methanol, 1.0 wt% NaOH and 20 ml/min methanol feed rate for 60 min. It could be stated that by using the external or the mix type reactor, more preferably the mix type reactor, the qualified biodiesel could be produced. Its acid value was over the Thai as well as the EN14214 standards but still in the ASTM D6751-02 limit.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.983-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงไบโอดีเซลth
dc.subjectเพอร์เวเพอเรชันth
dc.subjectไคโตแซนth
dc.subjectกรดไขมันth
dc.subjectเครื่องปฏิกรณ์แบบเยื่อแผ่นth
dc.subjectเอสเทอริฟิเคชันth
dc.subjectทรานเอสเทอริฟิเคชันth
dc.subjectBiodiesel fuelsen_US
dc.subjectPervaporationen_US
dc.subjectChitosanen_US
dc.subjectFatty acidsen_US
dc.subjectMembrane reactorsen_US
dc.subjectEsterificationen_US
dc.subjectTransesterificationen_US
dc.titleเอสเทอริฟิเคชันช่วยโดยเพอร์แวพอเรชัน และทรานส์เอสเทอริฟิเคชันของดิสทิลเลตกรดไขปาล์มในเครื่องปฏิกรณ์เมมเบรนไคโตซานen_US
dc.title.alternativePERVAPORATION-ASSITED ESTERIFICATION AND TRANSESTERIFICATION OF PALM FATTY ACID DISTILLATE IN CHITOSAN MEMBRANE REACTORen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเชื้อเพลิงen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKhantong.S@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.983-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5572192523.pdf6.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.