Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์en_US
dc.contributor.authorรุจิราพร ป้องเกิดen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:03:26Z
dc.date.available2015-09-17T04:03:26Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45592
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง มารับการรักษาที่โรงพยาบาลบึงกาฬ จำนวน 40 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มควบคุม 20 คน และกลุ่มทดลอง 20 คน จับคู่กลุ่มตัวอย่าง (Matched pair) เข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองด้วย เพศ อายุ และระยะเวลาที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ และกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจร่วมกับการพยาบาลตามปกติ พัฒนาจากแนวคิดของกิบสันร่วมกับการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่องของสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่องที่ได้รับการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าความตรงตามเนื้อหา (content validity index) เท่ากับ .96 และความเที่ยง (Reliability) เท่ากับ 0.81 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่องกลุ่มทดลอง หลังเข้าร่วมโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.05) 2. ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่รักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่องกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.05)en_US
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aimed to test the effect of empowerment program on self – care behaviors in older persons with chronic kidney disease receiving continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD). Forty participants were recruited form CAPD clinic, Buang Karn hospital. Each group was composed of 20 older persons with chronic kidney disease receiving CAPD. They were matched pair by sex, age, and duration of receiving CAPD. The control group received conventional nursing care while the experimental group received empowerment program in additional to conventional nursing care. The data were collected using was self – care behaviors scale which was approved content validity by five experts, obtaining a CVI of .96 and acceptable reliability at 0.81. Data were analyzed using descriptive and t – test. The research findings can be summarized as followed: 1. After participating in the empowerment program, the mean score of self – care behaviors in the older persons with chronic kidney disease receiving CAPD was significantly higher than that before participating in the program. (p < .05). 2. After receiving the empowerment program, the mean score of self – care behaviors in the older persons with chronic kidney disease receiving CAPD was significantly higher than participants receiving usual care. (p <.05). This research finding showed that the empowerment program given could increase self – care behaviors score in the older persons with chronic kidney disease receiving CAPD.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.992-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรคไตในผู้สูงอายุ
dc.subjectผู้สูงอายุ
dc.subjectการล้างไตทางช่องท้อง
dc.subjectไตวายเรื้อรัง -- การรักษา
dc.subjectKidney diseases in old age
dc.subjectOlder people
dc.subjectPeritoneal dialysis
dc.subjectChronic renal failure -- Treatment
dc.titleผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF EMPOWERMENT PROGRAM ON SELF-CARE BEHAVIORS IN THE OLDER PERSONS WITH CHRONIC KIDNEY DISEASE RECEIVING CONTINUOUS AMBULATORY PERITONEAL DIALYSISen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTassana.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.992-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5577189636.pdf5.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.