Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45606
Title: | SIAM - MYANMAR RELATIONS FROM THE 16TH TO THE 19TH CENTURY THROUGH THE PERSPECTIVE OF AYEDAWBON TREATISES |
Other Titles: | ความสัมพันธ์สยาม-เมียนมาร์จากคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 ผ่านมุมมองของวรรณกรรมอเยดอโปง |
Authors: | Soe Thuzar Myint |
Advisors: | Sunait Chutintaranond |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Arts |
Advisor's Email: | sunait.c@chula.ac.th |
Subjects: | Ayedawbon Burmese literature History in literature Burma -- History -- 16th century Burma -- History -- 17th century Burma -- History -- 18th century Burma -- History -- 19th century Thailand -- Foreign relations -- Burma อะเยด่อโปง วรรณกรรมพม่า ประวัติศาสตร์ในวรรณกรรม พม่า -- ประวัติศาสตร์ -- คริสต์ศตวรรษที่ 16 พม่า -- ประวัติศาสตร์ -- คริสต์ศตวรรษที่ 17 พม่า -- ประวัติศาสตร์ -- คริสต์ศตวรรษที่ 18 พม่า -- ประวัติศาสตร์ -- คริสต์ศตวรรษที่ 19 ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- พม่า |
Issue Date: | 2014 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Previously, Ayedawbon is little known to outside scholars. In the field of Myanmar-Thai relations, most scholars pay much attention to Chronicles but they conveniently forget Ayedawbons. In fact, Ayedawbon treatises are a mine of information for scholars of Myanmar and Thai studies. This thesis first introduces Ayedawbon treatises to Thai scholars as well as international academic circle. This thesis surveys seven Ayedawbon treatises and provides a translation of excerpts involving Myanmar–Siam warfare. It covers 5 periods ruled by successive dynasties of Myanmar kings: Pinya and Innwa period, corresponding to the period of the reigns of the early kings of Ayutthaya and Lanna, Taungoo period, corresponding to the period of the reign of King Maha Chakkraphat until King Naresuan, Nyaung Yan period, and Konboung period which corresponds to that of King Ekathat. If all these Ayedawbons combined, they registered the continuous events from 1284-1760, thus providing uninterrupted history for the scholars of both countries. This thesis exposed many unknown historical facts which we have never found in Myanmar chronicles and other sources. It contributed to the better understanding of histories between Siam and Myanmar. The study also found out many significant historical events, attitudes and ways of thinking of the authors of Ayedawbons which is somewhat related to the celebrated concepts of Cakravartin (king of kings) and mandala (sphere of royal influence). This study will be a good example of using one of Myanmar literary forms in the field of Thai Studies. It opens a new perspective for both Thai and outside scholars. Besides Ayedawbon treatises, there are a variety of genres in Myanmar literature such as Eigyin, Mawgun, Pyo, etc. They are little studied and there was no one who tried to use these materials for wide-ranging research on Siam-Myanmar relations. Research work on these existing materials would yield to valuable results. |
Other Abstract: | แต่ก่อน งานวรรณกรรมประเภทอะเยด่อโปง (Ayedawbon) แทบจะไม่เป็นที่รู้จักสำหรับนักวิชาการภายนอก ในการศึกษาความสัมพันธ์ไทย-พม่า นักวิชาการส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับหลักฐานประเภทพงศาวดารหรือยาสะวิน แต่มักจะหลงลืมอะเยด่อโปง (Ayedawbon) ไปอย่างง่ายๆ ในความเป็นจริงนั้น ตำราอะเยด่อโปง (Ayedawbon) เป็นขุมทรัพย์ของข้อมูลสำหรับนักวิชาการด้านพม่าและไทยศึกษา วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเป็นการนำเสนองานวรรณกรรมประเภทอะเยด่อโปง (Ayedawbon) ให้นักวิชาการทั้งไทยและวงวิชาการในระดับนานาชาติได้รู้จักเป็นครั้งแรก วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สำรวจอะเยด่อโปง (Ayedawbon) จำนวน 7 เล่ม และได้แปลเฉพาะบทที่เกี่ยวข้องกับสงครามไทย-พม่า ตำราทั้ง 7 เล่มครอบคลุมช่วงเวลา 5 สมัยซึ่งปกครองโดยราชวงศ์แห่งกษัตริย์พม่าที่ต่อเนื่องกัน ได้แก่ สมัยราชวงศ์พินยา (Pinya) และราชวงศ์อังวะ (Innwa) ตรงกับสมัยอยุธยาตอนต้นและอาณาจักรล้านนา สมัยราชวงศ์ตองอู (Taungoo) ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ มาจนถึงรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมัย ราชวงศ์ญองยาน (Nyaung Yan) และสมัยราชวงศ์คองบอง (Konboung) ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระเจ้าเอกทัศน์ เมื่อรวมสาระอะเยด่อโปง (Ayedawbon) ที่แปลทั้งหมดนี้เข้าด้วยกันก็จะได้ภาพบันทึกเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่ต่อเนื่องตั้งแต่ ค.ศ 1284 ถึง ค.ศ.1760 สำหรับให้นักวิชาการของทั้งสองประเทศได้ใช้ศึกษา วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เผยให้เห็นข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ยังไม่มีใครทราบซึ่งไม่อาจพบได้ใน หลักฐานประเภทพงศาวดารพม่าและแหล่งอ้างอิงอื่นๆ ข้อมูลที่ได้จะทำให้เกิดความเข้าใจต่อประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างสยามและพม่ามากขึ้น การศึกษาวิจัยนี้ยังได้พบเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญเป็นจำนวนมาก ตลอดจนทัศนคติและวิธีคิดของบรรดาผู้เขียนอะเยด่อโปง (Ayedawbon) ซึ่งมีส่วนสัมพันธ์กับแนวคิดที่เป็นที่รู้จัก คือ “แนวคิดจักรวาทิน (ราชาเหนือราชา)” และ “มณฑล (mandala) – เขตวงอำนาจแห่งราชันย์” การศึกษาวิจัยครั้งนี้ยังจะเป็นตัวอย่างที่ดีในการใช้รูปแบบงานวรรณคดีในการศึกษาวิจัยด้านไทยศึกษา ทั้งยังเปิดให้เห็นมุมมองใหม่สำหรับนักวิชาการไทยและนักวิชาการภายนอก นอกจากอะเยด่อโปง (Ayedawbon) แล้วยังมีวรรณคดีพม่ารูปแบบอื่นๆ อันหลากหลาย เช่น เอเจง (Eigyin), โมโกง(Mawgun) และ เพี่ยว (Pyo) เป็นต้น วรรณคดีเหล่านี้ยังไม่มีผู้ศึกษาอย่างกว้างขวาง และยังไม่มีความพยายามที่จะใช้วรรณคดีเหล่านี้เพื่อใช้วิจัยในวงที่กว้างขึ้นด้านความสัมพันธ์สยาม-พม่า งานวิจัยบนพื้นฐานวัตถุดิบที่ปรากฏอยู่ในวิทยานิพนธ์นี้จึงเป็นแบบอย่างที่จะก่อให้เกิดประโยชน์อันทรงคุณค่าเป็นอย่างยิ่งต่องานวิจัยในอนาคต |
Description: | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2014 |
Degree Name: | Doctor of Philosophy |
Degree Level: | Doctoral Degree |
Degree Discipline: | Thai Studies |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45606 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.206 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2014.206 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5580519422.pdf | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.