Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45668
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธงทิศ ฉายากุลen_US
dc.contributor.authorวรพจน์ มาศิริen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:04:14Z
dc.date.available2015-09-17T04:04:14Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45668
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการสำรวจด้วยระบบไลดาร์เป็นการสำรวจที่ให้ข้อมูลความถูกต้องทางดิ่งสูง ในการสำรวจด้วยระบบไลดาร์นั้นข้อมูลที่ได้จะมีความสูงอ้างอิงพื้นหลักฐานทรงรี WGS84 ในการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ จะใช้ความสูงที่อ้างอิงกับระดับน้ำทะเลปานกลาง ทำให้ต้องมีกระบวนการแปลงพื้นหลักฐานจากพื้นหลักฐานทรงรี WGS84 ไปเป็นระดับน้ำทะเลปานกลาง ดังนั้นพื้นผิวที่ใช้แปลงความสูงจึงมีผลต่อความถูกต้องทางดิ่งของข้อมูลไลดาร์ที่จะนำไปใช้งาน ในการศึกษานี้จะได้เปรียบเทียบวิธีการแปลงพื้นหลักฐานข้อมูลไลดาร์ในพื้นที่กรุงเทพฯ ด้วยการหาค่าความสูงยีออยด์ (Geoid Undulation) ที่ได้จากวิธีต่าง ๆ ดังนี้ การประมาณค่าภายใน (interpolation) แบบ IDW, Spline, Kriging Triangulated Irregular Network (TIN) การแปลงค่าพิกัดด้วยแบบจำลองโพลีโนเมียล และ การแปลงค่าพิกัดแบบนอนพาราเมตริกด้วยวิธี Loess เปรียบเทียบกับการแปลงด้วยพื้นผิวยีออยด์สากล EGM96 และ EGM2008 เมื่อได้วิธีการที่ให้ความถูกต้องดีที่สุด จะนำไปทดสอบการเปลี่ยนแปลงความถูกต้องเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนและตำแหน่งของจุดควบคุม เพื่อทดสอบว่าจำนวนและตำแหน่งจุดที่เหมาะสมในการแปลงความสูงข้อมูลไลดาร์ด้วยวิธีที่ทดสอบได้ จากการศึกษาการแปลงความสูงข้อมูลไลดาร์ด้วยวิธีการประมาณค่าภายในแบบ Spline ให้ค่า RMSE เท่ากับ 0.13 เมตร และค่า LE95 เท่ากับ 0.25 เมตร เมื่อเปรียบเทียบกับการแปลงความสูงด้วยแบบจำลองยีออยด์สากล EGM96 ซึ่งนิยมใช้ในกระบวนการเชิงพานิชย์ที่ให้ค่า RMSE เท่ากับ 0.18 เมตร และค่า LE95 เท่ากับ 0.36 เมตร แสดงให้เห็นว่าสามารถนำวิธีการประมาณค่าภายในแบบ Spline มาประยุกต์ใช้ในการแปลงความสูงข้อมูลไลดาร์ได้ และเมื่อนำมาศึกษาผลกระทบของจำนวนและตำแหน่งจุดควบคุมพบว่า จุดควบคุมจำนวน 40 จุดต่อพื้นที่ 440 ตร.กม. เพียงพอในการใช้สร้างแบบจำลองความสูงยีออด์เพื่อใช้แปลงความสูงข้อมูลไลดาร์en_US
dc.description.abstractalternativeThe data from airborne LiDAR is height information of the area with a very high accuracy and also a very dense spatial resolution. The coordinate of the data is referenced by GNSS on Board, thus both vertical and horizontal coordinates are referred to the WGS84 ellipsoid. But most applications of LiDAR data use Mean-Sea-Level datum as reference. In the conversion process of WGS84 height to Mean-Sea-Level height Geoid Undulation is needed. Therefore the vertical accuracy of the data depends largely on Geoid Model. In this paper, Geoid modeling using Inverse Distance Weight (IDW), Spline, Kriging Triangulated Irregular Network (TIN) interpolation methods, Polynomials model Coordinate transformation and nonparametric model using Loess algorithm were tested to transform the LiDAR height to Mean-Sea-Level and then compared the transformed data with height using EGM96 and EGM2008 model on the selected checkpoints to study the effect of height and Geoid surface accuracy. The most accurate model was then selected for Location and Number of control point which effected the accuracy of geoid model. The research result showed that the RMSE 0.13 meter and LE95 0.25 meter accuracy of spline geoid interpolation method. It provided the best accuracy from the transformation height. Compare with the EGM96, The accuracy of EGM96 performed only the RMSE 0.19 meter and LE95 0.36 meter. The geoid undulation from spline interpolation and provide a comparable accuracy with, EGM96 and EGM2008, in which leaded to the acceptable accuracy of the mean sea level height. With the Location and a Number test of 40 control point distributed all over the study area. They are the optimize number for the geoid interpolation with spline method.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1044-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเรดาร์ทางแสง
dc.subjectภูมิมาตรศาสตร์ -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์
dc.subjectOptical radar
dc.subjectGeodesy -- Mathematical models
dc.titleการศึกษาการแปลงข้อมูลความสูงไลดาร์บน WGS84 ลงสู่ระดับน้ำทะเลปานกลางen_US
dc.title.alternativeA STUDY OF THE TRANSFORMATION OF LIDAR'S Z DATA INTO MEAN SEA LEVEL FROM WGS84en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThongthit.C@Chula.ac.th,chayakula@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1044-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670360321.pdf6.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.