Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45685
Title: | RELIABLE SYNTHESIS AND MANIPULATION OF SELF-RUNNING GALLIUM DROPLETS ON GALLIUM ARSENIDE (001) IN MBE |
Other Titles: | วิธีสังเคราะห์และควบคุมของการเคลื่อนที่ด้วยตนเองของละอองแกลเลียมบนแกลเลียมอาร์เซไนด์ (001) ในเครื่องปลูกผลึกด้วยลำโมเลกุล |
Authors: | Beni Adi Trisna |
Advisors: | Songphol Kanjanachuchai |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | songphol.k@chula.ac.th |
Subjects: | Molecular beam epitaxy Gallium Gallium arsenide Surface chemistry Reflection high-energy electron diffraction Low energy electron diffraction Drops การปลูกผลึกอิพิแทกซีจากลำโมเลกุล แกลเลียม แกลเลียมอาร์เซไนด์ เคมีพื้นผิว |
Issue Date: | 2014 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | A procedure for reliable synthesis and the attempts to manipulate self-running Ga droplets on GaAs (001) in a molecular beam epitaxial (MBE) machine have been investigated. The running Ga droplets are studied by atomic force microscopy, differential interference contrast microscopy, and scanning electron microscopy. Their electrical properties are characterized by current-voltage (I-V) measurements. Using the proposed procedure, the formation of self-running Ga droplets has been reliably achieved in MBE despite the lack of real-space and real-time imaging capability. The procedure is based on the observation of in situ reflection high-energy electron diffraction patterns and the registration of an appropriate reference temperature followed by controlled sublimation profiles. The Ga droplet-GaAs interface is probed electrically; preliminary I-V measurements indicate that the interface shows a Schottky behavior. The manipulation of self-running Ga droplets migration using buried defects is proposed and demonstrated in a low-energy electron microscope. The Ga droplets are found to run and take sharp turns upon meeting with defects, possibly from Ga-spitting. Such results provide new insights of the running droplets dynamics and may open up opportunities to steer the droplets motion. |
Other Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้รายงานวิธีสังเคราะห์และควบคุมละอองแกลเลียมที่เคลื่อนที่ด้วยตนเองบนแกลเลียมอาร์เซไนด์ (001) ในเครื่องปลูกผลึกด้วยลำโมเลกุล (Molecular Beam Epitaxy, MBE) ชิ้นงานถูกศึกษาโดยกล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม (Atomic Force Microscopy) กล้องจุลทรรศน์แบบเปรียบต่างการแทรกสอดเชิงอนุพันธ์ (Differential Interference Contrast Microscopy) และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscopy) ส่วนสมบัติเชิงไฟฟ้าศึกษาโดยการวัดความสัมพันธ์กระแส-แรงดัน (Current-Voltage) ขั้นตอนที่นำเสนอทำให้สามารถใช้เทคนิค MBE สังเคราะห์ละอองแกลเลียมที่เคลื่อนที่ด้วยตนเองได้โดยให้ผลที่น่าเชื่อถือแม้จะขาดความสามารถในการมองเห็นภาพตามเวลาจริงก็ตาม ขั้นตอนที่ว่าอาศัยการสังเกตแบบรูปการเลี้ยวเบนอิเล็กตรอนพลังงานสูงที่ตกกระทบผิวหน้า และการเปรียบเทียบกับอุณหภูมิอ้างอิงที่เหมาะสม ตามด้วยการควบคุมโพรไฟล์การระเหิด ผิวหน้าระหว่างละอองแกลเลียมกับแกลเลียมอาร์เซไนด์ถูกตรวจสอบเชิงไฟฟ้า ผลเบื้องต้นจากการวัดกระแส-แรงดันชี้ว่ารอยต่อแสดงพฤติกรรมแบบช็อตต์กี วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เสนอวิธีควบคุมละอองแกลเลียมที่เคลื่อนที่ด้วยตนเองโดยใช้จุดบกพร่องที่ฝังอยู่ด้านล่างและสาธิตให้เห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบพลังงานต่า (Low-Energy Electron Microscope) โดยได้ค้นพบว่าแกลเลียมนั้นวิ่งและเลี้ยวอย่างฉับพลันเมื่อเจอกับจุดบกพร่องที่อาจเกิดขึ้นจากการถ่มของแกลเลียม ผลดังกล่าวได้ให้ข้อมูลเชิงลึกแบบใหม่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของละอองแกลเลียมและอาจจะทำให้มีโอกาสในการควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของละอองแกลเลียมก็เป็นได้ |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2014 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Electrical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45685 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.224 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2014.224 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5670501521.pdf | 4.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.