Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยชนะ นิ่มนวลen_US
dc.contributor.authorภควัต วงศ์ไทยen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:04:50Z
dc.date.available2015-09-17T04:04:50Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45734
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการเรียนการสอนในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ นิสิตจะต้องใช้ความสามารถทั้งด้านศิลปะ และวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้ผลงานที่สมบูรณ์แบบ และในระหว่างที่กำลังศึกษา ยังมีเรื่องของเวลา, คณาจารย์ และสภาพแวดล้อมต่างๆของคณะเข้ามาเกี่ยวข้องอีกด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้อาจส่งผลต่อความเครียดของนิสิต การวิจัยครั้งนี้มีรูปแบบเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อศึกษาระดับความเครียดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ของนิสิตระดับปริญญาตรี ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เก็บรวบรวมข้อมูลจากนิสิต ปีการศึกษา 2557 จำนวนทั้งสิ้น 323 คน โดยใช้เครื่องมือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ได้แก่ Descriptive Statistic, Chi-Square Test และ Multiple Logistic Regression Analysis ผลการศึกษาพบว่า นิสิตส่วนใหญ่ (39.7%) มีความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยคะแนนความเครียดรวมเท่ากับ 65.8 และค่า S.D.เท่ากับ 31.1 เมื่อวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณได้พบปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของกลุ่มตัวอย่างได้แก่จำนวนงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละรายวิชาที่มาก (OR=2.16, 95%C.I.=1.23-3.80, p<0.01), จำนวนครั้งของการตรวจแบบกับอาจารย์ประจำกลุ่มที่น้อย (OR=0.61, 95%C.I.=0.38-0.98, p=0.04) และอายุที่เพิ่มขึ้นของนิสิต (OR=1.34, 95%C.I.=1.11-1.60, p<0.01) ตามลำดับ จึงสรุปได้ว่า ส่วนมากมีความเครียดรวมในระดับปานกลาง และระดับความเครียดสัมพันธ์กับจำนวนงานที่ได้รับมอบหมายที่มาก, ครั้งของการตรวจแบบกับอาจารย์ที่ไม่บ่อย และอายุของนิสิตที่เพิ่มขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeStudying in Architectural Department, students need to learn about integrating arts with science to create the perfect designs. Along the way of doing so, the students might face some issues about time limits, faculties and the educational environment which can affect their stress levels. The aims of this cross-sectional descriptive study were to determine levels of stress and explore its factors among undergraduate students of Architectural Department, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University. The data were collected from those in Academic Year 2014; measured by stress and demographic questionnaire, and analyzed by Descriptive Statistic, Chi-Square Test and Multiple Logistic Regression Analysis. The results showed that most students (39.7%) were in moderate stress level with average stress score of 65.8 and S.D. of 31.1. Multiple Logistic Regression Analysis showed that the stress of the students was associated with the high numbers of schoolwork (OR=2.16, 95%C.I.=1.23-3.80, p<0.01), the infrequence of teacher-student's meeting on project designs (OR=0.61, 95%C.I.=0.38-0.98, p=0.04) and the increasing of students’ age (OR=1.34, 95%C.I.=1.11-1.60, p<0.01). In conclusion; most students are in moderate stress. The factors associated with stress are: too much amount of schoolwork, infrequent meeting between teacher and student about project designs and students’ increasing age.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.562-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯ
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา) -- ไทย -- กรุงเทพฯ
dc.subjectสถาปนิก -- ไทย -- กรุงเทพฯ
dc.subjectStudents -- Thailand -- Bangkok
dc.subjectStress (Psychology) -- Thailand -- Bangkok
dc.subjectArchitects -- Thailand -- Bangkok
dc.titleความเครียดของนิสิตระดับปริญญาตรี ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeSTRESS IN UNDERGRADUATE STUDENTS OF FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChaichana.N@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.562-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5674055730.pdf3.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.