Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45772
Title: EXPERIMENTAL INFECTION OF FRANCISELLA NOATUNENSIS SUBSP. ORIENTALIS STRAIN VMCU-FNO131 IN RED TILAPIA (OREOCHROMIS SP.)
Other Titles: การทดสอบการติดเชื้อของฟรานซิสเซลล่า โนอาทูเนนซิส ซับสปีชีส์โอเรียลทาลลิสสายพันธุ์ VMCU-FNO131 ในปลานิลแดง
Authors: Nguyen Viet Vuong
Advisors: Channarong Rodkhum
Nopadon Pirarat
Saengchan Senapin
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science
Advisor's Email: Channarong.R@Chula.ac.th,channarong_r@yahoo.com
Napadon.P@Chula.ac.th,piraratnop@hotmail.com
saengchan@biotec.or.th
Subjects: Virulence (Microbiology)
Bacterial diseases in fishes
Nile tilapia -- Infections
Francisella
ศักยภาพก่อโรค
ปลานิล -- การติดเชื้อ
โรคเกิดจากแบคทีเรียในปลา
ฟรานซิสเซลลา
Issue Date: 2014
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Since 2013, several outbreaks of an emerging disease characterized by multiple white granulomas in internal organs have occurred in cultured red tilapia (Oreochromis sp.) in some provinces in Thailand. The etiological agent of this disease in Thailand, however, has not yet been determined. The objective of the present study was to identify the causative agent of this infectious disease by fulfilling Koch’s postulates. Ten diseased red tilapia were collected from two affected farms for bacterial isolation, histological studies, and polymerase chain reaction (PCR) diagnosis for the suspected pathogen, Francisella sp.. All fish samples were positive for the Francisella genus-specific PCR. One bacterial strain, designated VMCU-FNO131, was successfully recovered from the kidney of diseased fish. Species identification of this strain was established by amplification and nucleotide sequencing of the 16S rRNA gene. BLAST analysis revealed 100 % identity to Francisella noatunensis subsp. orientalis strains available in the GenBank database. Subsequently, two groups of healthy red tilapia fingerlings were challenged with 1.08 x 103 CFU per fish and 1.08 x 105 CFU per fish by intraperitoneal injection. The accumulative mortality was 86.7 ± 23 % at 5 days post-injection (dpi). On the contrary, fish injected with 1.08 x 103 CFU per fish had died much slower, but the same accumulative mortality was observed at 16 dpi. Clinical signs and histopathological manifestations of typical granulomas were found in multiple organs of both the naturally and experimentally infected fish. Moreover, lethal dose 50 % (LD50) of VMCU-FNO131 in red tilapia was 2.88 x 105 CFU per fish at days 12 via intraperitoneal injection. In contrast, LD50 value could not calculate in immersion trial, and the dose 7 x 106 CFU mL-1 has just caused 25 % cumulative mortality within 21 days.
Other Abstract: ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2013 มีการระบาดของโรคอุบัติใหม่หลายครั้งในปลานิลแดง (Oreochromis sp.) ซึ่งมีลักษณะของก้อนแกรนูโลม่าสีขาวเล็กๆ (multiple white granulomas) กระจายอยู่ในอวัยวะภายในของปลานิลแดงที่เพาะเลี้ยงในบางจังหวัดของประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีการตรวจสอบหาสาเหตุของโรคดังกล่าว การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจพิสูจน์สาเหตุของโรคติดเชื้อนี้ให้สมบูรณ์โดย ใช้หลักการของ Koch (Koch’s postulates) ปลานิลแดงป่วยจำนวน 10 ตัว ถูกเก็บมาจากฟาร์มที่มีการระบาดของโรค 2 ฟาร์ม เพื่อนำมาทำการแยกเชื้อแบคทีเรีย ทำการศึกษาเนื้อเยื่อ และทำการวินิจฉัยหาเชื้อฟรานซีสเซลล่า (Franciscella sp.) ที่เป็นสาเหตุโดยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส (Polymerase Chain Reaction, PCR) ตัวอย่างทั้งหมดที่นำมาตรวจให้ผลบวกกับฟรานซีสเซลล่าด้วย PCR ที่มีความจำเพาะในระดับจีนัส (genus-specific PCR) นอกจากนี้ได้นำเชื้อฟรานซีสเซลล่าที่แยกได้จากไตของปลาป่วยจำนวน 1 ไอโซเลท ใช้ชื่อว่าสายพันธุ์ VMCU-FNO131 ไปตรวจพิสูจน์สปีชีส์ด้วยการเพิ่มจำนวนยีน 16S rRNA ด้วย PCR และนำไปทำการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ ผลการเปรียบเทียบลำดับนิวคลิโอไทด์ที่ได้กับลำดับนิวคลิโอไทด์ของเชื้อโรค ต่าง ๆ ที่ถูกเก็บไว้ใน GenBank database ด้วยวิธี BLAST พบว่าเชื้อที่แยกได้มีลำดับของนิวคลีโอไทด์ของ 16S rRNA เหมือนกับฟรานซีสเซลล่า โนอาทูเนนซีส ซับสปีชีส์โอเรียลทาลลิส (Franciscella noatunesis subsp. orientalis) ถึง 100 % จากนั้นนำเชื้อนี้ไปทำการฉีดเข้าช่องท้องของปลานิลแดงทดลองใน ระยะ fingerling ที่แข็งแรงดีจำนวน 2 กลุ่ม โดยทำการฉีดเชื้อจำนวน 1.08 x 103 cfu ต่อตัวปลา ให้ปลากลุ่มที่ 1 และ ฉีดเชื้อจำนวน 1.08 x 105 cfu ต่อตัวปลา ให้ปลากลุ่มที่ 2 ผลการทดลองปรากฏว่าอัตราการตายสะสม (accumulative mortality) ของปลาในกลุ่มที่ 1 ที่มีค่าเฉลี่ยที่ 86.7 ± 23 % ถูกตรวจสอบได้ภายใน 16 วันหลังการฉีดเชื้อ อย่างไรก็ตามในปลากลุ่ม 2 อัตราการตายสะสมค่าเดียวกันนี้ถูกตรวจสอบได้ภายใน 5 วันหลังการฉีดเชื้อ ลักษณะอาการของปลาป่วยและการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาของเนื้อเยื่อพบว่าปลา ป่วยมีก้อนแกรนูโลม่าอยู่ที่อวัยวะภายในหลายอวัยวะ ทั้งนี้จากผลการทดลองสรุปได้ว่าค่าลีทอลโดส 50 % (LD50) ของเชื้อสายพันธุ์ VMCU-FNO131 ในปลานิลแดงคือ 2.88 x 105 cfu ต่อตัวปลา ณ วันที่ 12 หลังจากการฉีดเชื้อเข้าช่องท้อง ในทางกลับกันไม่สามารถคำนวณค่า LD50 สำหรับการทดลองแบบจุ่มปลาไว้กับเชื้อ (immersion trial) ได้ แต่พบว่าเชื้อที่ขนาด 7 x 106 cfu ต่อ 1 มิลลิลิตรของน้ำที่ใช้แช่ตัวปลาสามารถทำให้เกิดอัตราการตายสะสมได้ที่ 25 % ภายใน 21 วันภายหลังการแช่
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Veterinary Pathobiology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45772
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.246
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2014.246
Type: Thesis
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5675330431.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.