Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45877
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมบัติ กาญจนกิจ | en_US |
dc.contributor.advisor | อรุณศรี อื้อศรีวงศ์ | en_US |
dc.contributor.author | นิจิรา คลังสมบัติ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-18T04:20:14Z | - |
dc.date.available | 2015-09-18T04:20:14Z | - |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45877 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนจังหวัดอุดรธานีครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชน 2) ศึกษาฐานทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชน และ 3) พัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสู่การเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมายและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ชุมชนในตำบลเมืองพาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานีที่ได้คัดเลือก 4 หมู่บ้านได้แก่ บ้านติ้วหมู่ 6 บ้านใหม่หมู่ 2 บ้านใหม่หมู่ 13 และบ้านจอมศรี โดยใช้การเปิดเวทีประชาคมเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม การสังเกตแบบมีส่วนร่วมเพื่อสำรวจทรัพยาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชน และการสัมภาษณ์เชิงลึก (indepth-interview) เจ้าหน้าที่ภาครัฐท้องถิ่น 5 คนและผู้อาวุโสในชุมชน 16 คน การเปิดเวทีประชาคม 5 ครั้งมีผู้เข้าร่วม 85 คน จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ (Work shop) ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้ามีผู้เข้าร่วมประชุม 49 คน ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนในตำบลเมืองพานต้องการมีส่วนร่วมในการร่วมมือกันจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชนของตน ชุมชนมีทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่หลากหลายทั้งในธรรมชาติและการทอผ้ามัดหมี่ในวิถีชีวิต ผลจากการประชุมเชิงปฏิบัติการทำให้เกิดกลุ่มแกนที่สามารถจะแบ่งหน้าที่รับผิดชอบเป็นกลุ่มย่อยได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น กลุ่มทอผ้าเพื่อการเรียนรู้ กลุ่มทำอาหาร กลุ่มมัคคุเทศก์นำเที่ยว กลุ่มดูแลด้านที่พักในการให้บริการนักท่องเที่ยว ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการวิจัยพบว่า จังหวัดอุดรธานีสามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนที่ตำบลเมืองพานให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะงานวิจัยครั้งนี้ได้เกิดการคิดประดิษฐ์ลวดลายผ้าทอมัดหมี่ลาย ‘หอนางอุสา’ ซึ่งเป็นโบราณวัตถุเพิงหินที่พักตามตำนาน ‘อุสา-บารส’ อันเลื่องชื่อมีความสวยงามเป็นที่ประทับใจไปในท้องถิ่นเกิดเอกลักษณ์และนวัตกรรมใหม่ที่ส่งเสริมการสร้างการมีขีดความสามารถเป็นเสน่ห์ดึงดูดใจของแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนเพิ่มมากยิ่งขึ้น คำสำคัญ : การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การมีส่วนร่วมของชุมชน | en_US |
dc.description.abstractalternative | The aims of this research were 1) to study community participation 2) to study cultural-based tourism resources of the community and 3) to develop a model for cultural tourism with community participation, Udonthani province. Using a community forum on target group from 4 villages of Muanpan sub-districtt including Ban Tiew Moo 6, Ban Mai Moo2, Ban Mai Moo 13 and Ban Chomsri Moo 1 plus a participatory observation to build community participation and identify community cultural resources. Indepth-Interview was conducted to 5 local authorities involving cultural tourism and16 elderly community members. Workshop was held at a conference room of the Phu Pra Bat historical Park where triangulation data was assumed with target group of 49 people attended. It was found that the target group would like to participate in cultural tourism and to work together in operating practice process. From the workshop, they could perform a setting up of the sub-groups for different responsibilities including a weaving course for learning, food preparing, tour guiding and accommodation in order to welcoming their visitors/tourists. From the research process if was found that with diversity of cultural resources, Udonthani province is capable to develop a cultural tourism with community participation at Muangpan sub-district to meet a tourism destination competitiveness especially when a cloth weaving was designed a new pattern after a renow ‘U-sa ‘s stone tower’ image initiated according to this research . This is a new innovation and brand indentifying for the tourism destination to be attractive more. Keywords: Cultural Tourism, Community participation, Udonthani province, Thailand | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.635 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน | |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- ไทย -- อุดรธานี | |
dc.subject | Heritage tourism -- Citizen participation | |
dc.subject | Heritage tourism -- Thailand -- Udonthani | |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนจังหวัดอุดรธานี | en_US |
dc.title.alternative | A MODEL DEVELOPMENT FOR CULTURAL TOURISM WITH COMMUNITY PARTICIPATION, UDONTHANI PROVINCE | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์การกีฬา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Sombat.K@Chula.ac.th,sombatkarn@hotmail.com,sombatkarn@hotmail.com | en_US |
dc.email.advisor | dr.aroonsri@gmail.com | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.635 | - |
Appears in Collections: | Spt - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5278964539.pdf | 5.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.