Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45918
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวลัย อิศรางกูร ณ อยุธยาen_US
dc.contributor.advisorอัมพร ม้าคนองen_US
dc.contributor.authorอดิศร บาลโสงen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:20:45Z-
dc.date.available2015-09-18T04:20:45Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45918-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญาและแนวคิดการวางแผนยุทธศาสตร์ชีวิต เพื่อเสริมสร้างการกำกับตนเองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสุขศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ 2) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนา ด้วยการวิจัยแบบกึ่งทดลอง(Quasi-Experimental Designs) ศึกษากลุ่มเดียววัดหลายครั้งแบบอนุกรมเวลา(Single-group interrupted Time-series Design) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 23 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานสุขศึกษา จำนวน 20 สัปดาห์ๆ ละ 1 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 1 ภาคเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบวัดการกำกับตนเอง ที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.90-1.00 ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค(Cronbach’s Alpha Coeffient) เท่ากับ .95 และ 2) แบบทดสอบความรู้รายวิชาสุขศึกษา ที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.80-1.00 ค่า KR-20 เท่ากับ .89 ค่าความยากระหว่าง 0.43-0.70 และมีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.20-0.37 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t (t-test for dependent samples (paired t-test)) ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียนการสอน มีองค์ประกอบหลัก 5 ขั้น คือ 1) ขั้นสร้างความสนใจ (Attention) 2) ขั้นคาดการณ์ล่วงหน้า (Forethought) 3) ขั้นวางแผนยุทธศาสตร์ (Tactic Planning) 4) ขั้นปฏิบัติให้สำเร็จ (Execution) และ 5) ขั้นสะท้อนผลงาน (Reflection) 2. ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอน มีดังนี้ 2.1 ค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการกำกับตนเองของกลุ่มตัวอย่างมีพัฒนาการสูงขึ้น ร้อยละ 2.98 โดยหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสุขศึกษา หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThis research and development aimed to 1) develop an Instructional Model based on Social Cognitive Theory and Strategic Life Planning to enhance Self-Regulation and Health Education Learning Achievement of lower secondary school students. and 2) study the effectiveness of the instructional model which was developed. The study was Quasi-Experimental Designs, conducted by Single-group interrupted Time-series Design. The samples comprised of 23 ninth-grade students in Health Education Class, The experimental instruments were the Lesson Plans on Health Education with the sessions of the trail were 20 hours, 1 hour per day for 1 semester. Self-Regulation Scales: SRS with an IOC of 0.90-1.00, Cronbach's Alpha Coeffient = .95 and Health Education Achievement Test with an IOC of 0.80-1.00, KR-20 = .89, Difficulty values between 0.43-0.70 and Discrimination index between 0.20-0.37 were utilized as instruments for data collecting. Percentage, mean, standard deviation and t-test were used as data analysis. The findings were as follows: 1. The developed Instructional Model was consists of 5 mains components: 1) Attention 2) Forethought 3) Tactic Planning 4) Execution and 5) Reflection. 2. The effectiveness of the developed Instructional Model was: 2.1 Mean scores of Self-Regulation Scales post-test was 2.98 percent increasing, and higher than mean scores of pre-test at .05 level of significance. 2.2 Mean scores of Health Education Learning Achievement post-test was higher than mean scores of pre-test at .05 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.661-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้ทางสังคม
dc.subjectการวางแผนเชิงกลยุทธ์
dc.subjectการจัดการตนเอง (จิตวิทยา)
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subjectสุขศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectSocial learning
dc.subjectStrategic planning
dc.subjectSelf-management (Psychology)
dc.subjectAcademic achievement
dc.subjectHealth education -- Study and teaching (Secondary)
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญาและแนวคิดการวางแผนยุทธศาสตร์ชีวิต เพื่อเสริมสร้างการกำกับตนเองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสุขศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen_US
dc.title.alternativeTHE DEVELOPMENT OF AN INSTRUCTIONAL MODEL BASED ON SOCIAL COGNITIVE THEORY AND STRATEGIC LIFE PLANNING TO ENHANCE SELF-REGULATION AND HEALTH EDUCATION LEARNING ACHIEVEMENT OF LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWalai.P@chula.ac.th,P_walai@hotmail.comen_US
dc.email.advisorAumporn.M@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.661-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5384476627.pdf6.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.