Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45926
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสรี จันทรโยธาen_US
dc.contributor.authorณัฐ ฮุนพงษ์สิมานนท์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:20:49Z
dc.date.available2015-09-18T04:20:49Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45926
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการศึกษาในห้องปฏิบัติการเพื่อหาผลจากการเลือกขนาดหินทิ้งที่ได้จากแบบจำลองกายภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ศึกษา ผลของมาตราส่วน และการปรับแก้การเลือกขนาดหินทิ้ง ภายใต้การใช้วัสดุหินที่คัดขนาดมา 4 ขนาด (½, ¾, 1½ และ 2 นิ้ว) ความลาดท้องน้ำ 3 ระดับ (2%, 5% และ 10%) คู่อัตราการไหลและการพัดพา 3 คู่ ทดลองในรางน้ำเปิดหน้าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้า (กว้าง×ลึก = 0.60×0.75 ม.) ของห้องปฎิบัติการแบบจำลองชลศาสตร์และชายฝั่งทะเล ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีระบบหมุนเวียนรักษาระดับน้ำ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยทฤษฎีกฎความคล้ายคลึงกันในเกณฑ์ของ Froude รวมทั้งสิ้น 23 กรณี 66 ชุดข้อมูล ผลการศึกษาด้านปัจจัยความสัมพันธ์หลักคือ ขนาดหินทิ้ง ความลาดท้องน้ำ และมุมทรงตัว กับอัตราการไหลของน้ำที่สภาวะเริ่มเคลื่อนที่ของหินทิ้ง พบว่าปัจจัยขนาดหินแปรผันตรงอย่างคงที่กับอัตราการไหล ปัจจัยลาดท้องน้ำร่วมกับมุมทรงตัวแปรผกผันอย่างไม่คงที่กับอัตราการไหลแบบผลต่างลดลงเมื่อเพิ่มความลาดท้องน้ำ ผลของมาตราส่วนแบบจำลองตามเกณฑ์ของ Froude ให้ค่าต่ำกว่าทฤษฎีและการปรับแก้นั้นแปรผันตรงอย่างไม่คงที่แบบลดลงเมื่อใช้มาตราส่วนใกล้ 1:1 ในช่วง 1:8 ถึง 1:1 ดังนั้นการเลือกขนาดหินทิ้งเพื่อป้องกันการกัดเซาะในทางน้ำเปิดด้วยมาตราส่วนมิติจะให้ขนาดของหินทิ้งใหญ่กว่าขนาดที่ได้จากเกณฑ์ของ Froudeen_US
dc.description.abstractalternativeThis experimental study was aimed at determining the effects of riprap size selection obtained from physical hydraulic modelling. Four uniformly graded sizes of local riprap material (nominal size of ½, ¾, 1½ and 2 inch), 3 levels of bed slope (2%, 5% and 10%) and 3 pairs of water flow rate and sediment flow rate were used in this investigation. The experiments of 23 cases and 66 data sets were performed in a rectangular flume (Width × Depth = 0.60 × 0.75 m.) of Coastal and Hydraulic Model Laboratory, Department of Water Resources Engineering, Chulalongkorn University. The experiment data were analysed by Froude Law of similitude. The analysis results showed that water discharge at the incipient riprap movement highly related to 3 major parameters consisting of riprap size, structure bed slope and angle of repose. The riprap size was found linearly proportional to the incipient flow rate. The bed slope and the angle of repose were found gradually proportional to the incipient flow rate. The riprap size obtained from modelling scaled by Froude Law of similitude was under-estimate and its calibration was gradually proportional to the scale ratio within a range of 1:8 to 1:1. Therefore, the riprap size selected from a physical hydraulic dimensional scaled model yielded a larger riprap size than from the Froude Law scaled.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.666-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบบจำลองทางวิศวกรรม
dc.subjectทางน้ำไหล
dc.subjectแบบจำลองทางชลศาสตร์
dc.subjectหิน
dc.subjectวิศวกรรมชลศาสตร์
dc.subjectEngineering models
dc.subjectChannels (Hydraulic engineering)
dc.subjectHydraulic models
dc.subjectStone
dc.subjectHydraulic engineering
dc.titleผลของมาตราส่วนของแบบจำลองกายภาพทางชลศาสตร์ต่อการเลือกหินทิ้งในทางน้ำเปิดen_US
dc.title.alternativeScale Effect of Hydraulic Physical Model in Open Channel Riprap Selectionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมแหล่งน้ำen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorseree.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.666-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5470190821.pdf8.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.