Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46103
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์en_US
dc.contributor.authorชุติมา ทองอยู่en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:22:15Z
dc.date.available2015-09-18T04:22:15Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46103
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบ 1) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ และ 2) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทที่เข้ารับการรักษาแผนกผู้ป่วยนอกที่สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 36 คน ได้รับการจับคู่กลุ่มโดยใช้ระดับคะแนนอาการทางจิตและเพศ แล้วมีการสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 18 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพที่ผู้วิจัยประยุกต์ขึ้นตามการศึกษาของเบคเกอร์ (1974) ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ และ 2) แบบประเมินพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือชุดที่ 2 มีค่าความเที่ยงของครอนบาคอัลฟา เท่ากับ .80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละและสถิติทดสอบที่ ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were to compare: 1) medication compliance behavior of schizophrenic patients before and after received the Health Belief Enhancement Program, and 2) medication compliance behavior of schizophrenic patients who received the Health Belief Enhancement Program and those who received regular nursing care. The sample consisted of 36 schizophrenic patients receiving services in outpatient department at Somdetchaopraya Institute of Psychiatry. They were matched pair with score on Brief Psychiatric Rating Scale (BPRS) and sex then randomly assigned to experimental groups and control groups with 18 subjects in each group. The experimental group received the Health Belief Enhancement Program and the control group received regular nursing care activities. The research instruments consisted of: 1) the Health Belief Enhancement Program and 2) the Compliance Behavior Assessment Scale. All instruments were verified for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 2nd instruments was reported by Chronbach,s Alpha coefficient of .80. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test. Major findings were as follows : 1. The medication compliance behavior of schizophrenic patients who received the Health Belief Enhancement Program was significantly higher than that before, at p .05. 2. The medication compliance behavior of schizophrenic patients who received the Health Belief Enhancement Program was significantly higher than those who received regular nursing care activities, at p .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.827-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภท
dc.subjectความเชื่อ
dc.subjectความร่วมมือ (จิตวิทยา)
dc.subjectผู้ป่วย -- ความร่วมมือในการรักษา
dc.subjectSchizophrenics
dc.subjectBelief and doubt
dc.subjectCompliance
dc.subjectPatient compliance
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF HEALTH BELIEF ENHANCEMENT PROGRAM ON MEDICATION COMPLIANCE BEHAVIOR OF SCHIZOPHRENIC PATIENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPennapa.D@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.827-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5577301536.pdf4.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.