Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorYupin Aungsurochen_US
dc.contributor.advisorJintana Yunibhanden_US
dc.contributor.authorYing Liuen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Nursingen_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:22:19Z-
dc.date.available2015-09-18T04:22:19Z-
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46114-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2014en_US
dc.description.abstractThis survey research design for causal modeling aimed to examine the factors of nurse staffing, nurse work environment, job satisfaction, burnout, and intention to leave influencing quality nursing care in Chinese hospitals. The conceptual framework was modified from the Aiken’s Nurse Work Environment, Nurse Staffing, Outcome Model (2002) and empirical studies. A multi-stage random sampling was used for data collection, which conducted from August, 2014 to January, 2015. Five hundred and ten inpatient departments’ registered nurses represented the four out of six Chinese regional tertiary general hospitals were recruited for main study. All of participants completed six questionnaires, including demographic data combining nurse staffing, work environment, burnout, anticipated turnover, nurses’ job satisfaction, and nurse-assessed quality of nursing care. All questionnaires had acceptable psychometric properties, which included content validity, construct validity, and internal consistency reliability. Structural equation modeling (LISREL 8.72) was used to find out the predictors of quality of nursing care. The results showed that the hypothesis model fit the empirical data and explained 74% of the variance about quality nursing care. (χ2 = 175.73, df = 149, p-value = .052, GFI = .97, AGFI = .95, RMSEA = .02, SRMR = .04, and CFI = 1.00). Nurse work environment directly affected quality nursing care, job satisfaction, intention to leave (.50, .84, -.30, p < .05, respectively). It indirectly affected burnout (-.56, p < .05) through job satisfaction; and intention to leave (-.20, p < .05) through job satisfaction and burnout. Patient to nurse ratio directly affected quality nursing care and intention to leave (-.16, .10, p < .05, respectively). Job satisfaction directly affected burnout (-.67, p < .05), indirect affected quality nursing care through burnout and intention to leave (.42, p < .05), and indirect affected intention to leave (-.38, p < .05) through burnout. Burnout directly affected quality nursing care and intention to leave (-.67, .57, p < .05, respectively). The results indicated that the highest impact factor influencing quality nursing care was the direct effect of burnout, followed by the indirect effect of job satisfaction through burnout and intention to leave and the direct effect of nurse work environment and nurse staffing. Therefore, managers should consider the improvement of all studying variables to increase quality nursing care.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษาแบบจำลองเชิงสาเหตุนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตรากำลังทางการพยาบาล สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน และความตั้งใจในการลาออกจากงาน ที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการพยาบาลตามการประเมินของพยาบาลในโรงพยาบาลประเทศจีน โดยใช้โมเดลสภาพแวดล้อมการทำงาน อัตรากำลัง และผลลัพธ์ทางการพยาบาล ของ Aiken (2002) และข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคม 2555 ถึง มกราคม 2556 จำนวน 510 คน เป็นพยาบาลที่ทำงานในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ของประเทศจีน แบบสอบถามมี 6 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินอัตรากำลังทางการพยาบาล แบบประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน แบบประเมินความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน แบบวัดความตั้งใจในการลาออกจากงาน แบบวัดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน และแบบประเมินคุณภาพการพยาบาลตามการประเมินของพยาบาล แบบสอบถามทั้งหมดผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหา ความตรงเชิงโครงสร้างและความเที่ยง ได้ค่าที่อยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้ ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ โมเดลสมการโครงสร้าง (ลิสเรล 8.72) ใช้ทดสอบเส้นทางสมมติฐานของคุณภาพการพยาบาลตามการประเมินของพยาบาล ผลการศึกษาพบว่า โมเดลสมมติฐานที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ สามารถอธิบายความผันแปรของคุณภาพการพยาบาลได้ 74 เปอร์เซ็นต์ (χ2= 175.73, df = 149, p-value = .052, GFI = .97, AGFI = .95, RMSEA = .02, SRMR = .04, CFI = 1.00) โดยพบว่า สภาพแวดล้อมในการทำงานมีอิทธิพลทางตรงต่อคุณภาพการพยาบาล ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน และความตั้งใจในการลาออกจากงาน (.50, .84, -.30, p < .05 ตามลำดับ) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน (-.56, p < .05) โดยผ่านความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน และมีอิทธิพลทางอ้อมค่อความตั้งใจในการลาออกจากงาน (-.20, p < .05) โดยผ่านความพึงพอใจในการปฏิบัติงานและความเหนื่อยหน่ายในการปฏิบัติงาน ส่วนการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาลมีอิทธิพลทางตรงต่อคุณภาพการพยาบาล และความตั้งใจในการลาออกจากงาน (-.16, .10, p < .05, ตามลำดับ) ส่วนความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีอิทธิพลทางตรงต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน (-.67, p < .05) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อคุณภาพการพยาบาล โดยผ่านความเหนื่อยหน่ายในการทำงานและความตั้งใจในการลาออกจากงาน (-.42, p < .05) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจในการลาออกจากงาน (-.38, p < .05) โดยผ่านความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ส่วนความเหนื่อยหน่ายในการทำงานมีอิทธิพลทางตรงต่อคุณภาพการพยาบาลและความตั้งใจในการลาออกจากงาน (-.67, .57, p < .05, ตามลำดับ) ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดต่อคุณภาพการพยาบาล คือ อิทธิพลทางตรงของความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน อิทธิพลทางอ้อมของความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยผ่านความเหนื่อยหน่ายในการทำงานและความตั้งใจในการลาออกจากงาน และอิทธิพลทางตรงของสภาพแวดล้อมในการทำงานและอัตรากำลังทางการพยาบาล ดังนั้น ผู้บริหารการพยาบาลควรพิจารณาถึงการพัฒนาตัวแปรเหล่านี้ เพื่อเพิ่มคุณภาพการพยาบาลให้ดียิ่งขึ้นต่อไปen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1620-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectEmployees -- Resignation-
dc.subjectWork environment-
dc.subjectHospitals -- China-
dc.subjectการลาออก-
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงาน-
dc.subjectโรงพยาบาล -- จีน-
dc.titleFACTORS INFLUENCING NURSE-ASSESSED QUALITY OF NURSING CARE IN CHINESE HOSPITALSen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการพยาบาลตามการประเมินของพยาบาลในโรงพยาบาลประเทศจีนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineNursing Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1620-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5577406836.pdf5.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.