Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46138
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนันต์ชัย คงจันทร์en_US
dc.contributor.authorศุทธกานต์ มิตรกูลen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีen_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:22:30Z
dc.date.available2015-09-18T04:22:30Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46138
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ค่านิยมส่วนบุคคลของพนักงานเจเนอเรชันวาย และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างความสอดคล้องของค่านิยมกับความผูกพันต่อองค์กร โดยความสอดคล้องของค่านิยมหมายถึงความเข้ากันได้ระหว่างค่านิยมของพนักงานกับค่านิยมองค์กร งานวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ค่านิยม ความผูกพันต่อองค์กร และข้อมูลทางประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานเจเนอเรชันวายที่ทำงานอยู่ในองค์กรรัฐหรือเอกชนของประเทศไทยจำนวน 684 คน ได้รับการตอบกลับอย่างสมบูรณ์จำนวน 621 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91 โปรแกรมทางสถิติ SPSS จะถูกนำมาใช้เพื่อคำนวณหาค่าเฉลี่ยคะแนนค่านิยมและทดสอบสมมติฐานจากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน โดยกำหนดระดับนัยสำคัญที่ระดับ p = 0.05 ผลการศึกษาพบว่า 1) ค่านิยมด้านมนุษยธรรม เป็นค่านิยมที่พนักงานเจเนอเรชันวายให้ความสำคัญมากที่สุด 2) ความสอดคล้องของค่านิยมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อองค์กร แต่รูปแบบความสัมพันธ์จะแตกต่างกันในค่านิยมแต่ละด้านและความผูกพันต่อองค์กรแต่ละประเภทen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to explore: 1) the individual values of generation Y employees, and 2) the relationships between values congruence and organizational commitment. Values congruence was defined as the fit between employee values and organization values. This study was a survey research using questionnaire as research instrument which consisted of 3 parts: values, organizational commitment, and demographic data. The sample consisted of 684 generation Y employees in public or private sectors in Thailand, 621 completed questionnaires were returned. The response rate was 91%. SPSS statistical program was used to calculate means of values and to test the hypotheses using Pearson’s correlation coefficients with significance level at p- value = 0.05. The results of the study showed that 1) ‘humanity’ was the most important value of generation Y employee. 2) Values congruence was positively related to organizational commitment but the patterns of relationship were different for each dimension of values and each type of commitment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.852-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเจนเนอเรชันวาย
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ
dc.subjectรุ่นวัย
dc.subjectค่านิยม
dc.subjectGeneration Y
dc.subjectOrganizational commitment
dc.subjectGenerations
dc.subjectValues
dc.titleความสัมพันธ์ 3 มิติ ของค่านิยมของพนักงาน ค่านิยมขององค์กร และความผูกพันต่อองค์กรen_US
dc.title.alternativeTRIANGULARITY OF EMPLOYEE VALUES, ORGANIZATION VALUES AND ORGANIZATION COMMITMENTen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorananchai.k@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.852-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5581608826.pdf4.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.