Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46139
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิen_US
dc.contributor.authorธันยพร มหาดิลกรัตน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:22:31Z
dc.date.available2015-09-18T04:22:31Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46139
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการกำกับตนเองที่มีต่อคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนวิชูทิศ สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 45 คน แบ่งเป็นนักเรียนกลุ่มทดลอง 22 คน และนักเรียนกลุ่มควบคุม 23 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยคือ โปรแกรมการกำกับตนเอง แบบวัดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงโดยครู และแบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงโดยนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ One-way ANOVA repeated measure และ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) ระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลนักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงไม่แตกต่างกับระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ระยะหลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ระยะติดตามผลนักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThis study describes a quasi-experimental design that aimed to evaluate the effectiveness of a self-regulation program to promote sufficiency characteristics of eleventh grade students. Data were collected by 1) A sufficiency characteristic’s test, 2) An observed behaviors of sufficiency characteristic by a teacher, and 3) An observed behaviors of sufficiency characteristic by a student. One-way repeated measure ANOVA and t-test were employed for data analysis. Results showed (1) After participating a self-regulation program , pre-test, posttest and delayed-posttest scores of the sufficiency characteristic's test of experimental group students were not significantly different. (2) Experimental group students significantly received higher posttest scores of the sufficiency characteristic’s test than did control group students. And (3) Delayed-posttest scores of the sufficiency characteristic’s test of experimental group students and those of control group students were significantly different.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.853-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการใช้ชีวิตแบบพอเพียง
dc.subjectทฤษฎีปัญญาสังคม
dc.subjectการควบคุมตนเอง
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง
dc.subjectSustainable living
dc.subjectSocial cognitive theory
dc.subjectSelf-control
dc.titleผลของการใช้โปรแกรมการกำกับตนเองที่มีต่อคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1en_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF A SELF-REGULATION PROGRAM ON SUFFICIENCY CHARACTERISTICS OF ELEVENTH GRADE STUDENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpiyawan.p@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.853-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5583314627.pdf5.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.