Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์พร พลเพชรen_US
dc.contributor.authorวัชรพงษ์ ทรงศิลป์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:22:51Z-
dc.date.available2015-09-18T04:22:51Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46180-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractแก๊สซิฟิเคชั่นของชีวมวล เป็นกระบวนการความร้อนเคมีซึ่งผลิตแก๊สผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าโดยปฏิกิริยาออกซิเดชั่นบางส่วนของชีวมวลในสภาวะซึ่งมีเชื้อเพลิงมากร่วมกับอากาศ ไอน้ำหรือออกซิเจน แก๊สผลิตภัณฑ์ประกอบด้วย แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ แก๊สมีเทน แก๊สไฮโดรเจน และสารประกอบที่สามารถกลั่นตัวได้ เช่นน้ำมันดิน อย่างไรก็ตามโดยทั่วไปแก๊สผลิตภัณฑ์จะมีน้ำมันดินปะปนอยู่มาก ดังนั้นจำเป็นต้องใช้ระบบทำความสะอาดแก๊ส ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษา กระบวนการแก๊สซิฟิเคชั้นแบบเบดหยุดนิ่งอากาศไหลลง ชีวมวลป้อนที่ศึกษาคือ ชิ้นไม้สับและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร น้ำมันดินที่เกิดขึ้นจะกำจัดด้วยการบำบัดอากาศแบบเปียก แก๊สผลิตภัณฑ์ที่ทำความสะอาดแล้วจะป้อนเข้าสู่เครื่องยนต์สันดาปภายในเพื่อผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า การจำลองระบบทั้งหมดจะดำเนินการโดยใช้โปรแกรมจำลองกระบวนการเชิงพาณิชย์ PRO/II จากนั้นจะหา สภาวะการดำเนินงานที่ดีที่สุดภายใต้ตัวแปรรบกวนที่กำหนด โครงสร้างการควบคุมจะถูกออกแบบและทดสอบโดยใช้โปรแกรมจำลองเชิงพลวัต DYNSIM ท้ายที่สุดจะวิเคราะห์สมรรถนะการควบคุมของระบบ โครงสร้างการควบคุมที่เสนอสามารถจัดการระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
dc.description.abstractalternativeBiomass gasification is a thermo-chemical process that generates valuable gas products by partial oxidation of biomass in fuel-rich conditions with of gasifying agents such as air, steam or oxygen. The gas product contains carbon-monoxide, methane, hydrogen, and other condensable compounds such as tars. However, the gas product usually contains high amounts of tars. Thus, a gas cleaning system is often required. In this work, a down-draft biomass fixed bed gasifier is investigated. The biomass feedstock considered includes wood chip and agricultural residues. Tar is removed by water in a wet scrubber. The clean gas product is fed through an internal combustion engine in order to produce electricity. Simulation of the whole system is performed in a commercial simulator, PRO/II. Optimal operating conditions under various given disturbances are identified. The control structure is then designed and tested by using a commercial dynamic simulator, DYNSIM. Finally, control performance of the system is analyzed. The control structure proposed can effectively handle the system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1077-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแกสซิฟิเคชันของชีวมวล
dc.subjectการควบคุมกระบวนการทางเคมี -- การออกแบบ
dc.subjectBiomass gasification
dc.subjectChemical process control -- Design
dc.titleการออกแบบโครงสร้างการควบคุมแพลนท์ไวด์ของกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันชีวมวลแบบอากาศไหลลงen_US
dc.title.alternativeDesign of plantwide control structure of downdraft biomass gasification processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPimporn.P@chula.ac.th,soorathep.k@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1077-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670371221.pdf6.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.