Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46183
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพจน์ เตชวรสินสกุลen_US
dc.contributor.authorวีรเดช ธนพลังกรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:22:52Z
dc.date.available2015-09-18T04:22:52Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46183
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และวิเคราะห์โอกาสการเกิดทรายเหลวเนื่องจากแผ่นดินไหวในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย โดยในปีพ.ศ. 2554 ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาดกลางในประเทศพม่า ค่าความเร่งของพื้นดินสูงสุดของแผ่นดินไหวครั้งนั้น ถูกวัดได้ที่อำเภอแม่สายประมาณ 0.2g นอกจากนี้การเกิดแผ่นดินไหวพบว่าทำให้เกิดลิควีแฟคชั่นขึ้นเป็นบริเวณกว้าง นี่เป็นครั้งแรกที่การเกิดลิควีแฟคชั่นถูกพบในประเทศไทย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เกิดแผ่นดินไหวที่มีขนาด 6.3 ขึ้นในอำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ลิควีแฟคชั่นได้ตรวจพบขึ้นอีกครั้งเป็นวงกว้างในจังหวัดเชียงราย ตามหลักฐานทางกายภาพของทั้งสองเหตุการณ์ อาจกล่าวได้ว่าภาคเหนือของประเทศไทยจะมีความไวต่อความเสี่ยงจากลิควีแฟคชั่น ในการศึกษาครั้งนี้ คลื่นแผ่นดินไหวผิวดินที่ตรวจวัดในได้ในประเทศไทยเมื่อปีพ.ศ. 2554 จะถูกนำมาแปลงเป็นคลื่นในชั้นดินแข็งและใช้วิเคราะห์ลิควีแฟคชั่นที่อาจจะเกิดขึ้นในพื้นที่ภาคเหนือ โดยใช้การวิเคราะห์ความเค้นประสิทธิผลด้วยไฟไนต์อิลิเมนต์ คุณสมบัติของดินในพื้นที่ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลเจาะสำรวจดิน และค่าความเร็วคลื่นเฉือน ได้ถูกรวบรวม และใช้ในการวิเคราะห์ เป็นที่คาดว่าผลของการวิเคราะห์จะสามารถใช้เป็นแนวทางในการสร้างมาตรการตอบโต้ที่เหมาะสมเพื่อลดอันตรายจากลิควีแฟคชั่นในภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to analyse liquefaction susceptibility due to earthquake in northern parts of Thailand. In 2011, there was an medium earthquake in Myanmar. The maximum ground acceleration of that event measured at Mae Sai was about 0.2g. Furthermore, the earthquake was found to induce liquefaction over a wide area. This was the first time that liquefaction being found in Thailand. On May 5, 2014, earthquakes with magnitude 6.3 hit Mae Lao, Chiang-Rai. Liquefaction was again observed for a wide area in Chiang Rai. Based on these two physical evidences, it can be said that the northern part of Thailand is somewhat susceptible to liquefaction risks. In the present study, the ground surface motion in Thailand that measured in 2011 was converted to motion at stiff soil layer and analyse liquefaction potential of the northern area using the effective stress finite element analysis. Actual soil properties; i.e. boring log and shear wave velocity, were collected and used in the analysis. It is expected that the analytical results can provide and use as a guideline to establish the proper counter-measures to mitigate the liquefaction hazards in the northern part of Thailand.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1079-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นดินไหว -- ไทย (ภาคเหนือ)th
dc.subjectการประเมินอันตรายจากแผ่นดินไหว -- ไทย (ภาคเหนือ)th
dc.subjectวิศวกรรมแผ่นดินไหว -- ไทย (ภาคเหนือ)th
dc.subjectความเสียหายจากแผ่นดินไหว -- ไทย (ภาคเหนือ)th
dc.subjectEarthquakes -- Thailand, Northernen_US
dc.subjectEarthquake hazard analysis -- Thailand, Northernen_US
dc.subjectEarthquake engineering -- Thailand, Northernen_US
dc.subjectEarthquake damage -- Thailand, Northernen_US
dc.titleโอกาสเกิดทรายเหลวเนื่องจากแผ่นดินไหวในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeLIQUEFACTION SUSCEPTIBILITY DUE TO EARTHQUAKE IN NORTHERN PARTS OF THAILANDen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSupot.T@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1079-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670387321.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.