Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46207
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประณัฐ โพธิยะราชen_US
dc.contributor.advisorสุภโชค ตันพิชัยen_US
dc.contributor.authorขวัญชีวา แก้วอินทร์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:23:05Z-
dc.date.available2015-09-18T04:23:05Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46207-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อที่จะศึกษาวิธีการเตรียมคอมพอสิตโดยใช้ผ้าฝ้ายทอเป็นสารเสริมแรงโดยการใช้สารละลายจากไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่เตรียมได้จากการนำไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสมาแช่ใน น้ำกลั่น แอซีโตน และ เอ็นเอ็นไดเมทิลอะเซทาไมด์ แต่ละชนิดเป็นเวลา 24 ชั่วโมงตามลำดับที่อุณหภูมิห้อง และเตรียมสารละลายโดยใช้ลิเธียมคลอไรด์ปริมาณ 8 กรัม ต่อ 100 มิลลิลิตรของ เอ็นเอ็นไดเมทิลอะเซทาไมด์ หลังจากนั้นนำไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่เตรียมไว้มาละลายในสารละลายผสมระหว่างลิเธียมคลอไรด์และ เอ็นเอ็นไดเมทิลอะเซทาไมด์ เป็นระยะเวลา 7 วัน เพื่อให้ได้สารละลายเซลลูโลสที่มีลักษณะเป็นสารละลายใส โดยสารละลายใสนี้จะทำหน้าที่เป็นเมทริกซ์ในคอมพอสิต จากนั้นขึงผ้าฝ้ายที่ขอบผ้าด้านบนและด้านล่างเพื่อยึดผ้าฝ้ายกับเฟรมแก้ว แล้วเทสารละลายเซลลูโลสที่ขอบด้านบนของผ้าที่ขึงไว้ ใช้ลูกกลิ้ง wire bar coater กลิ้งสารละลายเซลลูโลสลงบนผ้า ทิ้งให้แห้งที่อุณหภูมิห้อง และนำคอมพอสิตที่เตรียมได้ไปแช่ในเมทานอล เพื่อกำจัดสารละลายที่ตกค้างเคลือบบนพื้นผิวผ้าฝ้ายทอ ต่อจากนั้นเตรียมคอมพอสิตเสริมแรงด้วยผ้าสองชั้นโดย วางมุมองศาผ้า 0 45 และ 90 องศา และศึกษาสมบัติเชิงกล สมบัติทางกายภาพ และเสถียรภาพทางความร้อนของคอมพอสิตที่เตรียมได้ ด้วยเครื่องทดสอบอเนกประสงค์ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด และเครื่องวิเคราะห์น้ำหนักภายใต้ความร้อน พบว่าคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยผ้าฝ้ายทอชั้นเดียวและสองชั้น มีค่าความทนแรงดึงและมอดุลัสของยังที่ต่ำกว่าของฟิล์ม การยืดตัวออก ณ จุดขาดของคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยผ้าฝ้ายทอลายขัดทอแน่นและผ้าทอลายสอง ให้ค่าที่สูงกว่าของคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยผ้าฝ้ายทอลายขัดทอห่างและฟิล์มไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลส ความเหนียวคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยผ้าฝ้ายทอลายต่างๆมีค่าสูงกว่าฟิล์ม เพราะมีเส้นใยช่วยดูดซับแรงดึงได้ดีกว่าฟิล์ม ส่วนเสถียรภาพทางความร้อนของคอมพอสิตนั้นมีค่าลดลง เนื่องจากเมทริกซ์ที่ใช้ในงานวิจัยนี้มีเสถียรภาพทางความร้อนที่ค่อนข้างต่ำ และได้มาจากการเปลี่ยนโครงสร้างของเซลลูโลสจากเซลลูโลส I เป็นเซลลูโลสแบบอสัณฐานen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study all-cellulose composites using woven cotton fabric as the reinforcement. Microcrystalline cellulose (MCC) was immersed in distill water, acetone, N,N-dimethylacetamide (DMAc) each for 24h respectively at room temperature and then dissolved with 8wt% lithium chloride (LiCl)/DMAc until the transparent cellulose solution was obtained. The obtained cellulose solution was used as the matrix for all-cellulose composites. The woven cotton fabric was fixed on the glass frame then poured the cellulose solution on the fabric. The wire bar coater was used to impregnate the solution into the fabric and remove the excessive solution. The coated fabric was left and dried at the room temperature. The composites were washed by methanol to remove DMAc and LiCl. Two-layer composites were also prepared using 2 pieces of woven cotton fabrics with various orientations (0 degree, 45 degree and 90 degree) as the reinforcement. Mechanical properties and morphology of the composites were investigated using tensile testing, scanning electron microscopy and thermogravimetric analyser. The results of mechanical properties showed that the cellulose films have higher tensile strength and modulus than the all-cellulose composites. Composite reinforced with plain and twill weave have higher elongation at break were than plain thin weave and cellulose film. All-cellulose composites have higher toughness than cellulose film due to the fact that fibers are able to absorb more energy than the cellulose film. However, thermal stability of all-cellulose composites were decreased due to the matrix has lower thermal stability since the matrix which is the cellulose I, was changed into amorphous cellulose.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการเตรียมและสมบัติเชิงกลของผ้าฝ้าย/เซลลูโลสคอมพอสิตen_US
dc.title.alternativePREPARATION AND MECHANICAL PROPERTIES OFCOTTON FABRIC/CELLULOSE COMPOSITESen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPranut.P@Chula.ac.th,pranut@gmail.com,Pranut.P@Chula.ac.then_US
dc.email.advisorsupachok.tan@kmutt.ac.then_US
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5672155423.pdf4.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.