Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิสา วัชรสินธุen_US
dc.contributor.authorชลมาศ คูหารัตนากรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:23:23Z
dc.date.available2015-09-18T04:23:23Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46235
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractจากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าการเข้ารับการขยายท่อปัสสาวะทำให้ผู้ป่วยเด็กเกิดความวิตกกังวล การให้ข้อมูลที่เหมาะสมจะช่วยลดความวิตกกังวลในเด็กได้ การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้ข้อมูลผ่านการ์ตูนแอนิเมชั่นต่อความวิตกกังวล และความร่วมมือของเด็กชายอายุ 6-12 ปีที่เข้ารับการขยายท่อปัสสาวะ ณ หอผ่าตัดกุมารศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาด จำนวน 24 ราย โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 12 ราย และกลุ่มควบคุม 12 ราย กลุ่มทดลองได้รับข้อมูลผ่านการ์ตูนแอนิเมชั่นที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องร่วมกับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ โดยมีเนื้อหาที่อธิบายกระบวนการขยายท่อปัสสาวะ และวิธีคลายความวิตกกังวล ส่วนในกลุ่มควบคุมได้รับชมการ์ตูนแอนิเมชั่นทั่วไป ประเมินความวิตกกังวลโดยใช้แบบสอบถามความวิตกกังวลของเด็กไทยวัยเรียน (STAIC-R) แปลโดยวราภรณ์ ไชยวัฒน์ ส่วนการให้ความร่วมมือใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการให้ความร่วมมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองจากการสังเกตพฤติกรรมในห้องผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมด้วยสถิติ Independent t-test และ Paired t-test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนความวิตกกังวลหลังทดลองลดลงจากก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (t = 2.771, p = 0.02) ส่วนกลุ่มควบคุมมีคะแนนความวิตกกังวลหลังทดลองไม่แตกต่างจากก่อนทดลอง (t = 1.844, p = 0.10) ส่วนคะแนนความร่วมมือในการเข้ารับการขยายท่อปัสสาวะของทั้งสองกลุ่มนั้นไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้ง 3 สถานการณ์ ได้แก่ 1. ขณะเจ้าหน้าที่มารับไปห้องผ่าตัด 2. ขณะอยู่ในห้องผ่าตัด 3. ขณะเจ้าหน้าที่ดมยาสลบทำการครอบสวมหน้ากากดมยาสลบหรือฉีดยาสลบ การวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าการ์ตูนแอนิเมชั่นที่มีเนื้อหาครอบคลุมการขยายท่อปัสสาวะ และเทคนิคการลดความวิตกกังวลช่วยลดความวิตกกังวลของเด็กชายวัยเรียนที่ต้องเข้ารับการขยายท่อปัสสาวะในขณะที่การ์ตูนที่ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินที่มีอยู่ทั่วไปไม่ช่วยลดความวิตกกังวล งานวิจัยชิ้นนี้นำไปสู่แนวทางผลิตสื่อหรือวิธีการนำเสนอข้อมูลด้วยวิธีการอื่นๆที่เน้นการรับรู้กระบวนการทางการแพทย์ในโรคต่างๆรวมทั้งการนำเสนอแนะเทคนิคการคลายความวิตกกังวลในสถานการณ์ต่างๆต่อไปได้ คำสำคัญ : ความวิตกกังวล,การ์ตูนแอนิเมชั่น,ความร่วมมือ,เด็กวัยเรียน,การขยายท่อปัสสาวะen_US
dc.description.abstractalternativeUndergoing a urethral dilation procedure typically arouses anxiety among children. Giving an appropriate information will help reduce their anxiety. The purposes of this quasi-experimental study were to study the effect of giving information through cartoon animation on anxiety and co-operation of school-age boys (6-12 years) who underwent urethral dilation at Paediatric Surgery Operating Room,Paediatric Surgical Department, King Chulalongkorn Memorial Hospital. 24 children were divided into 12 experimental and 12 control groups. The experimental group watched cartoon animation which provided the information about procedure of urethral dilation and relaxation techniques information which the author created, whereas the control group viewed general amusement cartoon animation. The State-Trait Anxiety Inventory for Children Revised (STAIC-R) FORM C1 (A-State subscale),modified by Chaiyawat (2000a) was used to assess anxiety and co-operation of school-aged boys before and after the dilation of urethral stricture was evaluated by Observation form designed by the author. Data were analysed by using descriptive statistic, independent t-test and paired t-test. The results revealed that after watching animation, the anxiety levels of experimental group decreased significantly comparing with before receiving information (t = 2.771, p = 0.02). While the anxiety scores of the control group before and after watching general cartoon animation was not significantly different (t = 1.844,p =0.10). However, the cooperative behavior scores during 3 situations 1) Staff is escorting to the operating room 2) staying in the operation room 3) during receiving mask or intravenous anesthesia in the experimental group were not significantly different from those of in the control group. This research suggested that the content of cartoon animation that covered urethral dilation procedure and relaxation techniques reduced the anxiety levels of school-age boys (6-12 years) who underwent urethral dilation while the general cartoon animation did not reduce their anxiety. The research leads to the media benefit of other types inventing that focus on the medical procedures and relaxation techniques in reducing anxiety level in patients undergoing medical procedures.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1112-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหลอดปัสสาวะอักเสบ -- ผู้ป่วย -- การรักษา
dc.subjectความวิตกกังวล
dc.subjectการ์ตูน
dc.subjectผู้ป่วยเด็ก
dc.subjectพัฒนาการของเด็ก
dc.subjectการควบคุมตนเองในเด็ก
dc.subjectUrethritis -- Patients -- Treatment
dc.subjectAnxiety
dc.subjectCaricatures and cartoons
dc.subjectSick children
dc.subjectChild development
dc.subjectSelf-control in children
dc.titleผลของการให้ข้อมูลผ่านการ์ตูนแอนิเมชั่นต่อความวิตกกังวล และความร่วมมือของเด็กชายวัยเรียนที่เข้ารับการขยายท่อปัสสาวะen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF INFORMATION VIA CARTOON ANIMATION ON ANXIETY AND CO-OPERATION OF SCHOOL-AGE BOYS PATIENTS PRIOR TO DILATION OF URETHRAL STRICTUREen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAlisa.W@Chula.ac.th,alisa_wacharasindhu@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1112-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5674023630.pdf6.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.