Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46271
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งระวี สมะวรรธนะen_US
dc.contributor.advisorเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์en_US
dc.contributor.authorปัณณวิชญ์ ปิยะอร่ามวงศ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:23:37Z
dc.date.available2015-09-18T04:23:37Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46271
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดโปรแกรมสุขศึกษาโดยใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนหญิงมัธยมศึกษาตอนต้น โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนหญิงมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร จำนวน 48 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 23 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 25 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ประกอบด้วย กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมแนะแนวสุขภาพ กิจกรรมการรณรงค์ป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาปกติ โดยวัดการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับรู้ความรุนแรงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับรู้ประโยชน์ของการไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และความตั้งใจที่จะไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ วิเคราะห์ข้อมูลหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างโดยใช้ Paired samples t-test, Independent samples t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวน One-way ANOVA ทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยใช้ Scheffe ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับรู้ความรุนแรงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับรู้ประโยชน์ของการไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และความตั้งใจที่จะไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ 2) หลังการทดลองและระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับรู้ความรุนแรงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับรู้ประโยชน์ของการไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และความตั้งใจที่จะไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และไม่พบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยระหว่างหลังการทดลองและระยะติดตามผลen_US
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aimed to study the effects of health education program using the health belief model to prevent alcohol drinking of lower secondary school female students. The sample was 48 female secondary school students under the Secondary Educational Service Area Office One, Bangkok. The experimental group of 23 and a comparison group of 25 people were divided from 48. The experimental group received the health education program which applied Health Belief Model for four weeks. The program was composed of learning activities, health guidance and campaign activities for alcohol drinking prevention. The comparison group received regular health education instruction by their school. The instrument used to collect data was a self-administered questionnaire. Statistical analysis was performed using frequency, percentage, mean scores, standard deviation, t-test and F-test. Scheffe was employed to test the differences of pair wise comparison. The results showed that 1) After the experiment, in the experimental group, the mean scores of perceived susceptibility of drinking alcohol, perceived severity of drinking alcohol, perceived benefits of not drinking alcohol, perceived barriers of preventing from drinking alcohol and intended not to drink alcohol were found statistically significant differences from before experiment at the .05 level, and higher than the comparison group. 2) The mean scores of perceived susceptibility of drinking alcohol, perceived severity of drinking alcohol, perceived benefits of not drinking alcohol, perceived barriers of preventing from drinking alcohol and intended not to drink alcohol in the experimental group after experiment and follow-up were found statistically significant differences from before experiment at the .05 level, however, the mean scores between follow-up and after experiment were found no statistically significant differences.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1138-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเยาวชน -- การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ -- การป้องกัน
dc.subjectสุขศึกษา
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น -- ไทย -- กรุงเทพฯ
dc.subjectYouth -- Alcohol use -- Prevention
dc.subjectHealth education
dc.subjectJunior high school students -- Thailand -- Bangkok
dc.titleการจัดโปรแกรมสุขศึกษาโดยใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนหญิงมัธยมศึกษาตอนต้นen_US
dc.title.alternativeHEALTH EDUCATION PROGRAM MANAGEMENT USING THE HEALTH BELIEF MODEL TO PREVENT ALCOHOL DRINKING OF LOWER SECONDARY SCHOOL FEMALE STUDENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRungrawee.Sa@chula.ac.th,rungrawee1113@gmail.comen_US
dc.email.advisorAimutcha.W@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1138-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5683354827.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.