Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46349
Title: PREVALENCE AND RISK FACTORS ASSOCIATED WITH MUSCULOSKELETAL DISORDER IN MAINTENANCE INDUSTRY WORKERS: A CASE STUDY OF LIGNITE POWER PLANT IN LAMPANG PROVINCE THAILAND
Other Titles: ความชุกและปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของกล้ามเนื้อและโครงกระดูกในช่างซ่อมบำรุงโรงงานอุตสาหกรรม : กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์ จังหวัดลำปาง ประเทศไทย
Authors: Chatsuda Mata
Advisors: Surasak Taneepanichskul
Nutta Taneepanichskul
Other author: Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
Advisor's Email: Surasak.T@Chula.ac.th,nutta.t@chula.ac.th
Nutta.T@chula.ac.th
Issue Date: 2014
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The purpose of this study is to find out the prevalence of musculoskeletal disease among maintenance worker of lignite power plant in Lampang Province, Thailand and to determine the risk factors that associated with MSDs. A cross-sectional study conducted with structured face-to-face interview questionnaire among 317 workers working in maintenance at least 6 months. The prevalence rates of MSDs based on the Nordic Standard Form. Chi-square analysis were used to analyze association between independent and dependent variables with statistical significant of p < 0.05 and odds ratio with 95% CI was applied to explore the risk factors of MSDs. All of the participating workers, 66.4 % reported MSDs in part 12 months and 57.7 % in past 7 days. Association was found between education level (p = 0.01), health problems (p = 0.03), work areas (p = 0.01), and over time (p = 0.01). Postures of trunk slightly flexion (p = 0.02), prone (p = 0.01), stand (p = 0.02), lifted/carried with bend down trunk in light weight (p = 0.034), lifted/carried with bend down trunk in medium weight (p = 0.01) and lifted/carried with upright trunk in light weight (p = 0.03) were significantly with MSDs in past 12 months. Psychosocial exposure result showed the significant difference in changing workplace with MSDs in past 7 days (p = 0.02). The high prevalence of musculoskeletal disorder among maintenance workers and exposure to ergonomics factors were found significantly associated to health hazard. Suggestions for appropriated ergonomics design and ergonomics training are required for the maintenance workers.
Other Abstract: การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อหาความชุกและปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของกล้ามเนื้อและโครงกระดูก ในงานซ่อมบำรุงที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จังหวัดลำปาง การศึกษานี้เป็นแบบภาคตัดขวาง ประชากรที่สำรวจมีจำนวนทั้งสิ้น 317 คน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยลักษณะส่วนบุคคล, ลักษณะของงาน, ลักษณะท่าทางการทำงาน, สภาวะทางจิตสังคมในการทำงานรวมถึง แบบสอบถามาตรฐานเกี่ยวกับการประเมินความผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก (NMQ) ซึ่งวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางสถิติด้วยไค-สแควร์ (Chi-square Test) และ Odd ratio เพื่อดูความเสี่ยงของแต่ละปัจจัย ผลการศึกษาพบว่าในระยะ 1 ปีที่ผ่านมาพบผู้มีอาการเบื้องต้นของโรคความผิดปกติของกล้ามเนื้อและโครงกระดูกจำนวน 66.4 % ของช่างซ่อมบำรุงทั้งหมด และในระยะ 7 วันที่ผ่านมามีจำนวน 57.7 % ของช่างซ่อมบำรุงพบอาการข้างต้นมีความสัมพันธ์ต่อปัจจัยส่วนบุคคลในด้านระดับการศึกษา (p = 0.01), ปัญหาทางสุขภาพ (p = 0.03), ปัจจัยของงานในด้านลักษณะสถานที่ทำงาน (p = 0.01), และการทำงานนอกเวลา (p = 0.01) ในส่วนของลักษณะท่าทางการทำงานพบว่า ท่าก้มตัว (p = 0.02), ท่านอน (p = 0.01), ท่ายืน (p = 0.02), ท่ายกของ (p = 0.01) มีผลต่ออาการเจ็บปวดของกล้ามเนื้อ และยังพบว่าในด้านของจิตสังคมหัวข้อ การเปลี่ยนงาน (p = 0.02) มีผลต่อการมีอาการดังกล่าวด้วย ซึ่งทั้งนี้จะเห็นว่า มีผู้ที่มีอาการเบื้องต้นของความผิดปกติของกล้ามเนื้อ และโครงกระดูกจำนวนมากในช่างซ่อมบำรุง จึงควรที่จะมีการจัดสิ่งแวดล้อมในที่ทำงาน และ มีการอบรมของการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดอาการเจ็บปวดขึ้น
Description: Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2014
Degree Name: Master of Public Health
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Public Health
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46349
Type: Thesis
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5778805953.pdf5.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.