Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4634
Title: Rubberwood-polymer composites containing poly(methyl methacrylate-co-acrylamide) and poly(methyl methacrylate-co-2-ethylhexyl acrylate)
Other Titles: พอลิเมอร์ของพอลิ(เมทิลเมทาคริเลต-โค-อะคริลาไมด์) และพอลิ(เมทิลเมทาคริเลต-โค-2-เอทิลเฮกซิลอะคริเลต)ที่มีไม้ยางพาราประกอบ
Authors: Supuksorn Rungsri
Advisors: Amorn Petsom
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: amorn.p@chula.ac.th
Subjects: Rubber
Compositae
Polymethylmethacrylate
Issue Date: 2000
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This research involved the preparation of rubberwood-polymer composites by impregnation under reducing pressure with 2 types of monomer mixtures, which were methyl methacrylate/acrylamide (MMA/AM) and methyl methacrylate/2-ethylhexyl acrylate (MMA/2-EHA). Impregnation conditions such as evacuating time and soaking time were studied. The effect of benzoyl peroxide used as an initiator and the ratio of monomers that would have some effects on the physical and mechanical properties of impregnated samples were investigated. The results were compared to those of untreated rubberwood and two hardwoods including teak and redwood. The results showed that the optimum preparation parameters were 2 hours evacuating time, 4 hours soaking time, and 2% benzoyl peroxide. Impregnated samples containing MMA/AM gave low polymer loading at 22.04-30.56%, but MMA/2-EHA gave higher polymer loading at 56.68-60.00%. Water absorption was increased with increasing the ratio ofAM and 2-EHA. For the mechanical properties of WPC with MMA/AM, the MOE, flexure stress, and compression were highest 80:20 ratio, which were 7992.7 MPa, 125.25 MPa, and 70.99 N/mm2, respectively. When MMA/2-EHA was used, the MOE, flexure stress, and compression were highest at 20:80, 20:80, and 80:20 ratios which were 8699 MPa, 130.24 MPa, and 77.36 N/mm2, respectively
Other Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการเตรียมพอลิเมอร์ไม้ยางพาราประกอบ ด้วยวิธีการอิมเพรกเนชันภายใต้การลดความดัน โดยใช้มอนอเมอร์ผสม 2 ชนิด คือ เมทิลเมทาคริเลต/อะคริลาไมด์ (MMA/AM) และเมทิลเมทาคริเลต/2-เอทิลเฮกซิลอะคริเลต (MMA/2-EHA) แล้วทำการศึกษา ภาวะที่เหมาะสมในกระบวนการเตรียมตัวอย่าง คือ เวลาที่ใช้ดึงอากาศออกจากช่องว่างในเซลล์ไม้ และเวลาที่ใช้แช่ชิ้นตัวอย่างในส่วนผสม รวมทั้งศึกษาผลของปริมาณเบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ (BPO) ที่ใช้เป็นสารริเริ่ม และอัตราส่วนของมอนอเมอร์ผสมทั้ง 2 ชนิด ที่จะมีผลกระทบต่อสมบัติความเสถียรทางกายภาพและสมบัติทางกลของตัวอย่างที่เตรียมขึ้น แล้ว นำมาเปรียบเทียบกับไม้ยางพาราธรรมชาติและไม้เนื้อแข็ง 2 ชนิดคือ ไม้สักและไม้แดง ผลการศึกษาพบว่า พารามิเตอร์การเตรียมที่เหมาะสมเป็นดังนี้ เวลานี้ใช้ในการดึงอากาศออกจากช่องว่างในเซลล์ไม้ 2 ชั่วโมง และเวลาที่ใช้ในการแช่ชิ้นตัวอย่าง 4 ชั่วโมง ปริมาณเบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ที่เหมาะสมคือ 2 เปอร์เซ็นต์ ไม้ที่มี MMA/AM จะให้ค่าโพลิเมอร์โลดดิงต่ำ อยู่ในช่วง 22.04-30.56 เปอร์เซ็นต์ แต่ MMA/2-EHA จะให้ค่าโพลิเมอร์โลดดิงสูงกว่าคืออยู่ในช่วง 56.68-60.00 เปอร์เซ็นต์ ค่าการดูดซับน้ำเพิ่มเมื่อเพิ่มอัตราส่วนของ AM และ 2-EHA สำหรับสมบัติเชิงกลของไม้ที่มี MMA/AM ค่ามอดูลัสยืดหยุ่น ความทนแรงบิดงอ และการทนต่อแรงอัด จะให้ค่าสูงสุดที่อัตราส่วน 80:20 คือ 7992.7 เมกกะปาสคาล 125.25 เมกกะปาสคาล และ 70.99 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร ตามลำดับ เมื่อใช้ MMA/2-EHA จะให้ค่ามอดูลัสยืดหยุ่น ความทนแรงบิดงอ และการทนต่อแรงอัด สูงสุดที่อัตราส่วน 20:80 20:80 และ 80:20 คือ 8699 เมกกะปาสคาล 130.24 เมกกะปาสคาลและ 77.36 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตรตามลำดับ
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2000
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemistry and Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4634
ISBN: 9741312245
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supuksorn.pdf8.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.