Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46356
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chitlada Areesantichai | en_US |
dc.contributor.author | Ridhwan Fauzi | en_US |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-18T04:24:22Z | |
dc.date.available | 2015-09-18T04:24:22Z | |
dc.date.issued | 2014 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46356 | |
dc.description | Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2014 | en_US |
dc.description.abstract | Shisha and electronic cigarette smoking become new global epidemic. Youth were the most vulnerable group to be attracted using this product. The study aims to find out prevalence and significant predictors of shisha electronic cigarette smoking among high school students in Jakarta Indonesia. The study design was cross-sectional with multistage cluster random sampling. A total of 1,318 students aged 15-19 from 14 schools (suburban: 8 and downtown: 6) participated. The prevalence of shisha smoking were 20.6% in lifetime, 15.5% in past year, and 5.2% in current. For electronic cigarette, the prevalence of lifetime, past year, and current smoker reached to 14.6%, 12.5%, and 3.4% respectively. About 10.5% of respondents ever tried both of shisha and electronic cigarette, 7.6% used in past year, and 1.1% in past 30 days. Multiple logistic regression found gender, school location, father education, smoking status of father and close friends, lifetime cigarette smoking, past year cigarette smoking, and availability were predictors for electronic cigarette and shisha use. Furthermore, lifetime cigarette smoking was the strongest predictor which were 4 times more likely to tried shisha (AOR: 4.251 95% CI: 2.683-6.734) and electronic cigarette (AOR: 4.496, 95% CI: 2.52-8.022) than nonsmoker. The prevalence of shisha and electronic cigarette smoking was considerably high in this study. Thus, health promotion program with emphasize to prevent shisha and electronic cigarette smoking were urgently needed. | en_US |
dc.description.abstractalternative | ชิชาร์ และบุหรี่ไฟฟ้า เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แพร่หลายในทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มวัยรุ่นที่ถือเป็นกลุ่มเสี่ยงของการใช้บุหรี่ไฟฟ้า และชิชาร์ วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย เพื่อสำรวจความชุก รวมทั้งปัจจัยกำหนดทางสังคมสำหรับการเลือกใช้สูบบุหรี่บุหรี่ไฟฟ้า และชิชาร์ของกลุ่มนักเรียนในระดับมัธยมปลายของกรุงจาร์กาต้า ประเทศอินโดนีเชีย วิธีการวิจัย เป็นแบบภาคตัดขวาง ใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน กลุ่มตัวอย่างสำหรับงานวิจัย จำนวน 1,318 คน อายุระหว่าง 15 – 19 ปี จากโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 14 แห่ง (โรงเรียนกึ่งเมือง 8 แห่ง และในเขตเมือง 6 แห่ง) ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรมการสูบชิชาร์ของกลุ่มนักเรียนร้อยละ 20.6% เคยลองสูบชิชาร์ ร้อยละ 15.5% เคยสูบชิชาร์ใน 1 ปีที่ผ่านมา และร้อยละ 5.2% เป็นผู้สูบปัจจุบัน สำหรับพฤติกรรมการ สูบบุหรี่ไฟฟ้าพบว่า นักเรียนที่เคยสูบ คิดเป็นร้อยละ 14.6% ผู้ที่สูบในช่วงปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 12.5% และเพิ่งเริ่มสูบคิดเป็นร้อยละ 3.4% นอกจากนี้กลุ่มนักเรียนที่สูบทั้งชิชาร์และบุหรี่ไฟฟ้า คิดเป็นร้อยละ 10.5% โดยร้อยละ 7.6% สูบบุหรี่ทั้งสองแบบมาแล้ว 1 ปี ที่ผ่านมา และมีเพียงร้อยละ 1.1% ที่สูบบุหรี่ทั้งสองแบบในช่วง 30 วันที่ผ่านมา การวิเคราะห์ด้วยการถดถอยโลจิสติกพบว่า เพศ สถานที่ตั้งของโรงเรียน การศึกษาของบิดา พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของบิดาและกลุ่มเพื่อนสนิท พฤติกรรมการสูบบุหรี่ที่ผ่านมา พฤติกรรมการสูบบุหรี่เมื่อปีที่แล้ว รวมทั้งศักยภาพในการจัดหาบุหรี่เพื่อการสูบ มีความสัมพันธ์กับการสูบชิชาร์และบุหรี่ไฟฟ้า อย่างไรก็ตามตัวแปรที่สำคัญที่จัดเป็นตัวชี้วัดพฤติกรรมการเลือกสูบบุหรี่ไฟฟ้าและชิชาร์คือ พฤติกรรมการสูบบุหรี่แบบต่อเนื่องเป็นเวลานาน โดยกลุ่มนักเรียนที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่มานาน มีโอกาสเสี่ยงต่อการเลือกทดลองสูบชิชาร์ประมาณ 4 เท่า (AOR = 4.252, 95%CI = 2.683 – 6.734) และมีโอกาสเสี่ยงต่อการเลือกทดลองสูบบุหรี่ไฟฟ้า (AOR = 4.496, 95%CI = 2.520 – 8.022) เมื่อเทียบกับกลุ่มนักเรียนที่ไม่สูบบุหรี่ ความชุกในการสูบชิชาร์และบุหรี่ไฟฟ้า อยู่ในระดับสูง ดังนั้นควรมีการจัดโปรแกรมเพื่อป้องกันการใช้ชิชาร์และบุหรี่ไฟฟ้าในกลุ่มนักเรียนอย่างเร่งด่วน | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.346 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Electronic cigarettes | |
dc.subject | High school students -- Tobacco use -- Indonesia -- Jakarta | |
dc.subject | Hookahs | |
dc.subject | บุหรี่อิเล็กทรอนิกส์ | |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา -- การใช้ยาสูบ -- อินโดนีเชีย -- จาการ์ตา | |
dc.title | THE PREVALENCE OF SHISHA AND ELECTRONIC CIGARETTE SMOKING AMONG HIGH SCHOOL STUDENTS IN JAKARTA, INDONESIA | en_US |
dc.title.alternative | ความชุกของการสูบบุหรี่ไฟฟ้า และชิชาร์ในกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาในจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Public Health | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Public Health | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | chitlada.a@chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.346 | - |
Appears in Collections: | Pub Health - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5778822553.pdf | 3.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.