Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46372
Title: Predicting Factors of Research Utilization in Nursing Practice among Professional Nurses
Other Titles: ปัจจัยทำนายการใช้ผลการวิจัยในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ
Authors: Cattaliya Siripattarakul Sanluang
Advisors: Yupin Aungsuroch
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Nursing
Subjects: Nursing -- Research
Operations research
การพยาบาล -- วิจัย
วิจัยปฏิบัติการ
พยาบาล -- อัตรากำลัง
Issue Date: 2014
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The purposes of this predictive correlational research were to study the research utilization in nursing practice and to examine the predictability of predicting factors; research experience, educational level, research climate, support resources, and staffing. 447 nurses were selected by multi-stage sampling, who working in regional hospitals under the Jurisdiction of Ministry of Public Health in Thailand. The instruments were personal dada form, research utilization in nursing practice scale, research climate scale, support resources scale and staffing scale. All scales were tested content validated by 5 experts and construct validity. The Cronbach’s alpha coefficient of all scales were .95, .88, 94, and .93 respectively. Stepwise multiple linear regression was used in statistical analysis. The major findings were as follow. 1. The research utilization in nursing practice among professional nurses was a moderate level. 2. Research experience, research climate, support resources, staffing were positively related to research utilization in nursing practice (r= .316, .440, .430, and .370 respectively, p<.05). Bachelor degree was negative related to research utilization in nursing practice (r= -.158, p<.05). 3. The research climate, research experience, and support resources accounted for 30.40%of total variance in research utilization in nursing practice (R2= .304, p<.01).
Other Abstract: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ผลการวิจัยในการปฏิบัติการพยาบาลและอำนาจทำนายของปัจจัยทำนายได้แก่ การมีประสบการณ์วิจัย ระดับการศึกษา บรรยากาศการวิจัย ทรัพยากรสนับสนุนและการจัดอัตรากำลัง กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ทำงานในโรงพยาบาลศูนย์ ภูมิภาค สังกัดกระทรวงสาธารณสุขจากทั่วทุกภาคในประเทศไทย คัดเลือกโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 447 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถามส่วนบุคคล แบบสอบถามการใช้ผลการวิจัยในการปฏิบัติการพยาบาล แบบสอบถามบรรยากาศการวิจัย แบบสอบถามทรัพยากรสนับสนุน และแบบสอบถามการจัดอัตรากำลังซึ่งแบบสอบถามทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ5ท่าน ความตรงเชิงโครงสร้าง และคำนวณค่าสหสัมพันธ์อัลฟาคอนบราคได้เท่ากับ .95, .88, .94, และ.93 ตามลำดับ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบStepwise ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พยาบาลมีการใช้ผลการวิจัยในการปฏิบัติการพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง 2. การมีประสบการณ์การวิจัย, บรรยากาศการวิจัย, ทรัพยากรสนับสนุน, และการจัดอัตรากำลังมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการใช้ผลการวิจัยในการปฏิบัติการพยาบาล (r = .316, .440, .430, .370 ตามลำดับ ที่นัยสำคัญทางสถิติระดับ p<.05) การศึกษาระดับปริญญาตรีมีความสัมพันธ์เชิงลบกับการใช้ผลการวิจัยในการปฏิบัติการพยาบาล (r= -.158, p<.05). 3.บรรยากาศการวิจัย การมีประสบกาณ์ในการวิจัย และทรัพยากรสนับสนุน สามารถร่วมกันทำนายความแปรปรวนของการใช้ผลการวิจัยในการปฏิบัติการพยาบาล ได้ร้อยละ 30.40 (R2= .304, p<.05)
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2014
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Nursing Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46372
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1621
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2014.1621
Type: Thesis
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5277972336.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.