Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46475
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อลิศรา ชูชาติ | en_US |
dc.contributor.author | พัชรา พยัคฆา | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-19T03:39:40Z | |
dc.date.available | 2015-09-19T03:39:40Z | |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46475 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาก่อนและหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของพิซซินีร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนระหว่างกลุ่มที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของพิซซินีร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือกับกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบทั่วไป (3) ศึกษาปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของนักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของพิซซินีร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือและ (4) เปรียบเทียบปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของนักเรียนระหว่างกลุ่มที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของพิซซินีร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือกับกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 2 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาและแบบสังเกตพฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) นักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของพิซซินีร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของพิซซินีร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้ปัญหาสูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของพิซซินีร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือมีคะแนนเฉลี่ยปฏิสัมพันธ์ทางสังคม สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 70 4) นักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของพิซซินีร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือมีคะแนนเฉลี่ยปฏิสัมพันธ์ทางสังคมสูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study was a quasi-experimental research. The purposes of the study were (1) to compare the problem solving ability of students between before and after learning science through the instructional model based on pizzini approach with cooperative learning approach, (2) to compare the problem solving ability of students between an experimental group and a control group, (3) to study the social interaction of students learning science through the instructional model based on pizzini approach with cooperative learning approach, and (4) to compare the social interaction of students between an experimental group and a control group. The samples were two classes of mathayomsuksa 2 students at Suratpittaya school in Suratthani province. The research instruments were the test on problem solving ability and social interaction behavior observation form. The collected data were analyzed by arithmetic mean, mean of percentage, standard deviation and t-test. The research findings were summarized as follows: (1) The experimental group had mean scores of problem solving ability higher than before learning at a .05 level of significance. (2) The experimental group had mean scores of problem solving ability higher than the control group at a .05 level of significance. (3) The experimental group had mean scores of social interaction which was higher than criterion score set at 70 percent. (4) The experimental group had mean score of social interaction higher than the control group at a .05 level of significance. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1258 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การแก้ปัญหา | |
dc.subject | ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม | |
dc.subject | การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม | |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | |
dc.subject | Problem solving | |
dc.subject | Social interaction | |
dc.subject | Participatory learning | |
dc.subject | Science -- Study and teaching (Secondary) | |
dc.title | ผลของการใช้รูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของพิซซินีร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น | en_US |
dc.title.alternative | EFFECTS OF USING A SCIENCE INSTRUCTIONAL MODEL BASED ON PIZZINI APPROACH AND COOPERATIVE LEARNING APPROACH ON PROBLEM SOLVING ABILITIES AND SOCIAL INTERACTION OF LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTS | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การศึกษาวิทยาศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Alisara.C@Chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.1258 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5483394727.pdf | 3.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.