Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศศิลักษณ์ ขยันกิจen_US
dc.contributor.authorสุพรรณิการ์ ศรีสุวรรณen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:39:44Z
dc.date.available2015-09-19T03:39:44Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46480
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสัมพันธภาพของครูกับเด็กที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของเด็กวัยอนุบาล ใน 3 มิติ ได้แก่ ด้านการขัดแย้ง ด้านการพึ่งพา และด้านการใกล้ชิด ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย คุณครูประจำชั้น จำนวน 60 คน และเด็กวัยอนุบาล จำนวน 360 คน จาก 60 ห้องเรียน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดสัมพันธภาพของครูกับเด็ก (Student-Teacher Relationship Scale หรือ STRS) และแบบประเมินพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของเด็กวัยอนุบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. สัมพันธภาพของครูกับเด็กในมิติด้านการขัดแย้งและด้านการพึ่งพามีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของเด็กวัยอนุบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2. สัมพันธภาพของครูกับเด็กในมิติด้านการใกล้ชิดไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของเด็กวัยอนุบาลen_US
dc.description.abstractalternativeThe proposes of the research was to study the relationships between teacher-child relationship and prosocial behavior of preschoolers in 3 dimension of conflict, closeness and dependency. The samples were 60 preschool teachers and 360 preschoolers from 60 classrooms of schools under the jurisdiction of the Bangkok Primary Education Service Area Office. The instruments used in this research were Student-Teacher Relationship Scale (STRS) and preschoolers' prosocial behavior assessment form. The data were statistically analyzed using percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson’s Product-Moment Correlation. The research findings were as follows; 1. The relationship between the conflict and dependency of teacher-child relationship and prosocial behavior of preschoolers were found to be negatively significant at .01 level. 2. The closeness of teacher-child relationship was not significantly related to the prosocial behavior of preschoolers.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1262-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน
dc.subjectครูอนุบาล
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
dc.subjectPreschool children
dc.subjectKindergarten teachers
dc.subjectTeacher-student relationships
dc.subjectInterpersonal relations
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างสัมพันธภาพของครูกับเด็กและพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของเด็กวัยอนุบาลen_US
dc.title.alternativeTHE RELATIONSHIPS BETWEEN TEACHER-CHILD RELATIONSHIP AND PROSOCIAL BEHAVIOR OF PRESCHOOLERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSasilak.K@Chula.ac.th,preawja@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1262-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5483451827.pdf4.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.