Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46512
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKreangkrai Maneeintren_US
dc.contributor.advisorJirawat Chewaroungroajen_US
dc.contributor.authorSarin Wutthisirisarten_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineeringen_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:40:03Z
dc.date.available2015-09-19T03:40:03Z
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46512
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2014en_US
dc.description.abstractEmulsion from oil and produced water is normally found during oil production. It forms at many stages in the petroleum recovery and process industry such as drilling, oil production, and transportation. The majority type of emulsion is water-in-oil emulsion and the water volume fraction of emulsion can be up to 60%. This emulsion results in the operating problems for oil production like higher pressure drop in the pipeline and higher viscosity for oil production. Consequently, the objective of this work is to measure the viscosity and evaluates the effects of parameters on viscosity of oil and its emulsion from an oilfield in Thailand. The parameters that influences in emulsion viscosity are temperature, shear rate and water cut. The temperature, shear rate and percentage of water cut for this study are ranging from 30 to 90 °C, from 1 to 74 s-1 and from 10-60%, respectively. The results are shown that temperature plays the significant role in viscosity reduction with increasing temperature. Furthermore, the viscosity of emulsions slightly decreases as the shear rate increases and its viscosity extremely decrease at high percentage of water cut. Moreover, the correlation for predicting viscosity with shear rate, temperature and 10%-50% of water cut is developed for future work.en_US
dc.description.abstractalternativeอิมัลชันที่เกิดจากน้ำมันและน้ำจากหลุมผลิตจะพบเจอได้เป็นปกติในการผลิตน้ำมัน อิมัลชันเกิดได้ในหลายช่วงเวลาทั้งกระบวนการทางภาคสนาม และกระบวนการในภาคอุตสาหกรรม เช่น กระบวนการขุดเจาะ กระบวนการผลิตน้ำมัน และ การขนส่ง ประเภทส่วนใหญ่ของอิมัลชันที่เกิดขึ้นคือ อิมัลชันประเภทน้ำในน้ำมันอิมัลชัน และปริมาณน้ำในน้ำมันมีมากถึง 60% จึงนำมาซึ่งผลกระทบของการเกิดอิมัลชันในการผลิตน้ำมันคือตวามดันตกในท่อ และความหนืดสูงสำหรับการผลิตน้ำมัน ดังนั้นจุดประสงค์หลักของงานนี้คือ ทำการวัดความหนืดและศึกษาตัวแปรที่มีผลกระทบต่อความหนืดของน้ำมันและอิมัลชันของมัน โดยน้ำมันที่ใช้ในการศึกษานำมาจากแหล่งน้ำมันของประเทศไทย ตัวแปรที่ส่งผลต่อความหนืดของอิมัลชัน ได้แก่ อุณหภูมิ แรงเฉือน และ ปริมาณน้ำในน้ำมัน โดยค่าอุณหภูมิ แรงเฉือน และปริมาณน้ำ ที่ใช้ในการศึกษาอยู่ในช่วง 30 ถึง 90 องศาเซลเซียส, 1 ถึง 74 หนึ่งส่วนวินาที และ ร้อยละ 10 ถึง 60 ตามลำดับ จากการศึกษาได้ว่า อุณหภูมิเป็นตัวแปรสำคัญในการลดความหนืดของอิมัลชัน โดยการเพิ่มอุณภูมิ ในส่วนของแรงเฉือนนั้น ความหนืดของอิมัลชันลดลงเล็กน้อยเมื่อแรงเฉือนเพิ่มขึ้น และความหนืดของอิมัลชันจะลดลงอย่างมากเมื่อปริมาณร้อยละของน้ำในน้ำมันมีค่ามาก นอกจากนี้แล้ว สมการสำหรับทำนายค่าความหนืดของอิมัลชัน ในรูปของอุณหภูมิ แรงเฉือน และปริมาณของน้ำในน้ำมันที่ร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 50 ได้ถูกพัฒนาขึ้นด้วย เพื่อใช้สำหรับงานในอนาคตต่อไปen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.378-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectViscosity
dc.subjectEmulsions
dc.subjectOil fields -- Thailand
dc.subjectความหนืด
dc.subjectเยื่อไวแสง
dc.subjectแหล่งน้ำมัน -- ไทย
dc.titleANALYSIS OF VISCOSITY OF LIGHT OIL AND ITSEMULSION FROM AN OILFIELD IN THAILANDen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ความหนืดของน้ำมันเบาและอิมัลชันจากแหล่งน้ำมันในประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Engineeringen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePetroleum Engineeringen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorKrengkrai.M@chula.ac.th,kreangkraim@yahoo.comen_US
dc.email.advisorJirawat.C@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.378-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5571216821.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.