Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46554
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยรัตน์ เอี่ยมกุลวัฒน์en_US
dc.contributor.authorภูมิใจ ตั้งสวัสดิรัตน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:40:34Z
dc.date.available2015-09-19T03:40:34Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46554
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาผลกระทบจากภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ลดลงอันเนื่องมาจากนโยบายการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลที่มีต่อการลงทุน โดยจะใช้ข้อมูลงบการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ในปี พ.ศ. 2554-2556 ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อมูลช่วงยาว (Panel Data) ในระดับบริษัท (Firm-Level) และนำมาทำการคำนวณภาระภาษีด้วยวิธีอัตราภาระภาษีเฉลี่ย (Average Effective Tax Rate) นอกจากนี้ยังใช้วิธีการทางเศรษฐมิติเพื่อประมาณค่าด้วยวิธีต่างๆ อาทิเช่น Pooled OLS Regression, Three Time Periods First Differenced Panel Data, Fixed Effects Estimation และ Random Effects Estimation เพื่อนำมาเปรียบเทียบและหาวิธีการประมาณค่าที่เหมาะสมที่สุดสำหรับแบบจำลองและชุดข้อมูลโดยใช้การทดสอบต่างๆ อาทิเช่น การทดสอบ Breusch-Pagan Lagrange Multiplier, การทดสอบ F-test, การทดสอบ Hausman และการทดสอบ Serial Correlation อีกทั้งยังทำการทดสอบการเกิดปัญหาความแปรปรวนของค่าความคลาดเคลื่อนไม่คงที่ (Heteroskedasticity) ของข้อมูลด้วย จากการศึกษาพบว่า อัตราภาระภาษีเฉลี่ยที่ลดลงมีความสัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายในการลงทุนของบริษัท โดยการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ช่วยให้บริษัทมีการลงทุนมากขึ้น แต่การดำเนินนโยบายควรจะมีการประกาศก่อนเป็นระยะเวลายาวนานพอสมควร เพื่อให้บริษัทสามารถปรับแผนการลงทุนได้ทันท่วงที มิเช่นนั้นบริษัทที่ลงทุนไปก่อนหน้านี้ก็จะได้รับประโยชน์น้อยกว่าเนื่องจากได้สูญเสียศักยภาพในการลงทุนไปแล้ว และขณะดำเนินการก็ควรลดอัตราภาษีแบบค่อยเป็นค่อยไปภายใต้ระยะเวลาพอควร มิเช่นนั้นจะเป็นการบิดเบือนพฤติกรรมในการลงทุนโดยบริษัทจะรอคอยจนกว่าอัตราภาษีได้ลดลงจนต่ำที่สุดก่อนแล้วจึงค่อยเริ่มลงทุนแทน สุดท้ายควรสร้างความมั่นใจให้กับบริษัทต่างๆด้วยการออกเป็นพระราชบัญญัติที่มีความแน่นอนกว่าพระราชกฤษฎีกาที่มีผลเพียงแค่ปีต่อปีเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อให้บริษัทมั่นใจได้ว่านโยบายนี้จะถูกดำเนินการอย่างต่อเนื่องและใช้วิธีค่อยๆปรับแผนการลงทุนแทนที่จะปรับอย่างรวดเร็วเนื่องจากคิดว่าเป็นนโยบายเพียงชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งจะไปบิดเบือนพฤติกรรมในการจัดหาเงินทุนโดยบริษัทจะนำเงินกู้ในระยะสั้นที่มีต้นทุนสูงกว่าไปลงทุนในระยะยาวด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThis study focuses on the impacts of decreasing corporate income tax policy upon average effective tax rate and firm's investment. The sample firm-leveled panel data were collected from the financial statements of various listed companies in the Stock Exchange of Thailand (SET) by the year 2011-2013. The tax burdens were calculated by Average Effective Tax Rate method. Also, Econometrics estimation methods such as Pooled OLS Regression, Three Time Periods First Differenced Panel Data, Fixed Effects and Random Effects were used to make a comparison in order to find the most suitable estimation method for the model and data set. Furthermore, various tests such as Breusch-Pagan lagrange multiplier test, F-test, Hausman test, serial correlation test and the test for heteroskedasticity were used for robustness analysis. The study finds that the decreased in corporate income tax induces more firm’s investments. However, the policy announcement should be done long period of time beforehand so that firms could adjust their investment plan, otherwise those who had already invested before the implementation could benefit less than their optimum as they had already lost their investment potential. During the implementation process, tax rate should be decreased gradually, otherwise it will affect the investment behavior in which that the company will begin to invest when the tax rate is at the lowest level. Lastly, the policy should be put in Act of Parliament rather than Act of Decree since this will allow firms to gradually improve their investment plan rather than making rash decision to raise the capital of the company by using short-term loan that has higher cost in long-term investment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1312-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบริษัท -- ภาษี -- ไทย
dc.subjectการจัดเก็บภาษี -- ไทย
dc.subjectภาษีเงินได้ -- ไทย
dc.subjectการหักลดหย่อนภาษี -- ไทย
dc.subjectการลงทุน
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์ -- ไทย
dc.subjectTax collection -- Thailand
dc.subjectCorporations -- Taxation -- Thailand
dc.subjectIncome tax -- Thailand
dc.subjectTax deductions -- Thailand
dc.subjectInvestments
dc.subjectStock exchanges -- Thailand
dc.titleผลของการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลที่มีต่อค่าใช้จ่ายในการลงทุนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์: กรณีศึกษาประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF REDUCING A CORPORATE INCOME TAX ON INVESTMENT OF LISTED COMPANIES: A CASE STUDY IN THAILANDen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorchairat.a@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1312-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5585165829.pdf5.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.