Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาโนช โลหเตปานนท์en_US
dc.contributor.authorธันวา แก้วเกษen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:40:40Z-
dc.date.available2015-09-19T03:40:40Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46562-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง การประยุกต์ใช้แบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงานโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสมรรถนะโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างตัวอย่าง และวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการประเมินสมรรถนะโซ่อุปทานตามแนวทางของแบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงานโซ่อุปทาน (SCOR Model) การศึกษาครั้งนี้ ดำเนินการภายใต้กรอบแนวคิด SCOR Model V.11.0 ของ Supply Chain Council และใช้แนวคิดการประยุกต์ใช้แบบจำลองโดยใช้ SCOR Project ของ Bolstorff and Rosenbaum (2012) โดยการศึกษาครั้งนี้ เลือกถึงการประเมินและเปรียบเทียบสมรรถนะโซ่อุปทาน เพื่อให้บริษัทได้ศึกษาเรียนรู้และเตรียมตัวสำหรับการพัฒนาโซ่อุปทานในภาพรวมต่อไป ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงวิธีการ ลำดับขั้นตอนในการประยุกต์ใช้แบบจำลองในอุตสาหกรรมจริง ภายใต้สภาพแวดล้อมที่แตกต่างจากแหล่งกำเนิดแนวคิดนี้ แม้ว่าจะมีข้อจำกัดในการดำเนินงานอยู่บ้าง แต่ผลการประเมินสมรรถนะของบริษัทตัวอย่างกลับสูงเกินเกณฑ์ที่ตั้งไว้เกือบทุกด้าน ยกเว้นด้านต้นทุน ซึ่งจากการวิเคราะห์ในรายละเอียด พบว่า รายการที่เป็นที่น่าสังเกตว่าอาจจะทำให้ต้นทุนสูงคือ ต้นทุนค่าขนส่ง (Transportation Cost) ซึ่งอยู่ในรายการของต้นทุนการเติมเต็มคำสั่งซื้อ (Fulfilment Cost) เนื่องจากมีอัตราการเพิ่มขึ้นของต้นทุน สูงกว่าอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้ ในขณะที่ต้นทุนประเภทอื่นมีการเพิ่มขึ้นในระดับใกล้เคียงกับรายได้รวม ดังนั้น บริษัทควรให้ความสำคัญกับการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการขนส่งสินค้า โดยเฉพาะในส่วนของการวางแผนโซ่อุปทาน เนื่องจากเป็นส่วนสำคัญในการวางแผนการดำเนินงานทั้งหมด รวมถึงแผนการขนส่งสินค้าด้วยเช่นกันen_US
dc.description.abstractalternativeThe study of Supply Chain Operation Reference-Model applies in construction materials industry. The objective of this study is to apply the SCOR Model to evaluation supply chain performance and identify problems and obstacles in the processes of implementing the SCOR model to the company. This study conducted under the framework of SCOR Model V.11.0 according to the Supply Chain Council. And apply the concept of SCOR model on SCOR project by Bolstorff and Rosenbaum (2012). The study applied methodology to study the context of the company and evaluation supply chain performance for the company to learning and preparing to further major supply chain development. The result of this study showed methods and steps in implementing the SCOR model in the real practice but under the circumstance that difference from the origin of the concept. Although there are some restrictions in operation, the result of the evaluation of the study company’s performance is higher more than expect in almost all aspects except for cost. In-depth study show that transportation cost in sum of fulfilment cost might be cause total cost to serve above the criterion. Because transportation cost has higher growth rate than supply chain revenue meanwhile other costs are similar growth rate like revenue. So, Company should focus to study in detail of transportation cost especially in term of planning supply chain which is important process of overall supply chain.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้แบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงานโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างen_US
dc.title.alternativeAPPLICATION OF SCOR MODEL IN A BUILDING MATERIAL COMPANYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorManoj.L@chula.ac.th,lmanoj@gmail.com,lmanoj@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5587551720.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.