Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีชญา สิทธิพันธุ์en_US
dc.contributor.advisorกุณฑลทิพย พานิชภักดิ์en_US
dc.contributor.authorปรางโชสุก สุพรรณนานาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:40:50Z
dc.date.available2015-09-19T03:40:50Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46574
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractศูนย์ชุมชนใช้เป็นศูนย์รวมของชุมชน และเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาชุมชน ศูนย์ชุมชนส่วนใหญ่มักประสบปัญหาไม่ยั่งยืน เนื่องจากการขาดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน และการพึ่งพิงเงินบริจาค ส่งผลให้ชาวชุมชนไม่เข้ามาใช้งานและไม่สามารถบริหารจัดการเองได้ งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อศึกษาชุมชนกรณีศึกษา และวางแผนกระบวนการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 2)เพื่อดำเนินการกระบวนการ วิเคราะห์และสรุปผลการจัดทำรายละเอียดโครงการกรณีศึกษา 3)เพื่อวิเคราะห์และวางแผนการบริหารจัดการโครงการศูนย์ชุมชนที่ 4)เพื่อเป็นข้อเสนอแนะในการดำเนินงานในขั้นตอนต่อไปของโครงการศูนย์ชุมชน และนำไปประยุกต์ใช้กับโครงการอื่นที่มีปัจจัยเหมือนกัน โดยใช้วิธีเก็บข้อมูล,สำรวจ,สังเกต สอบถาม,สัมภาษณ์,สนทนากลุ่ม,การระดมสมอง และการให้สร้างจินตนาการ ใช้การทำแผนผัง จดบันทึกและการบันทึกภาพเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผลการศึกษา ในช่วงแรกจะต้องมีการประชาสัมพันธ์ ปรับทัศนคติให้เห็นความสำคัญของศูนย์ชุมชนและการมีส่วนร่วม และกระตุ้นให้เกิดการรวมกลุ่ม 1)การจัดทำรายละเอียดโครงการ มีการเก็บข้อมูลจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด จากนั้นผู้วิจัยนำมาจัดเรียงความสำคัญร่วมกับชาวชุมชนและไปสู่การวางแนวทางการออกแบบ(Design Guideline) และร่วมกันศึกษาความเป็นไปได้ พื้นที่โครงการ 877 ตารางเมตร เงินค่าก่อสร้างประมาณ 11,701,800 บาท 2)การบริหารจัดการโครงการ เงินทุนค่าก่อสร้างชาวชุมชนจะร่วมกันหาด้วยตัวเองก่อนประมาณ 15% แบ่งการก่อสร้างเป็น 2 ช่วง และแบ่งเงินรายได้จากศูนย์หลังเปิดใช้ครึ่งหนึ่งไว้เป็นเงินซ่อมแซมอาคาร ข้อสรุปจากการหาความต้องการโดยใช้การมีส่วนร่วมมีแนวโน้มที่ชาวชุมชนจะเข้ามาใช้ และมีการวางแผนใช้เงินบริจาคเพียงค่าก่อสร้างอาคาร และหลังจากนั้นชุมชนเป็นผู้บริหารจัดการโครงการให้ได้กำไรไม่พึ่งพิงเงินบริจาคอีก ทำให้ศูนย์ชุมชนมีแนวโน้มที่จะมีความยั่งยืนแต่ด้วยข้อจำกัดด้านเวลาในการวิจัย ทำให้ไม่สามารถวัดผลความยั่งยืนของโครงการได้อย่างไม่เต็มที่en_US
dc.description.abstractalternativeThe community center is the hub of the community. And as part of community development. Most community centers suffered from unsustainable. Due to the lack of participation of the community. And dependence on donations As a result, people are not used and cannot be managed. Research aims 1) study the education community. And participatory planning processes 2) to continue the process. analyze and conclude the preparation of the detailed project case studies 3) to analyze and planning, project management, community centers, 4) for a recommendation on the implementation of the next stage of the community center. And applied to other projects with similar factors. Using data collection, surveys, observations, inquiries, interviews, focus groups, brainstorming. And imagination using the map Write down and save the image as a tool for data collection. The results from the first phase to be publicized. Attitude to the importance of community centers and participate. And encourages the integration 1) Programming. It is used to collect data from people who are all involved. The researchers then used a critical essay with the community and orientation towards design guideline and feasibility study. The project area is 877 sq.m. Money for the construction of approximately 11,701,800 baht 2) Project Management. Funding for the construction of the community to work together to find yourself before a 15% share of the construction of a second before the interval. And divide the proceeds from a half after opening a money to repair the building. The conclusions of the study requested by the participating communities are likely to be used. And are planning to use the money donated in just in the building. And the community is managing the project to be profitable without relying on donations again. Community centers are likely to be sustainable, but with time restrictions on the research cannot measure the sustainability of the project was not full.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1324-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศูนย์สังคม -- ไทย -- กรุงเทพฯ
dc.subjectการพัฒนาแบบยั่งยืน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.subjectการจัดการ
dc.subjectCommunity centers -- Thailand -- Bangkok
dc.subjectSustainable development -- Citizen participation
dc.subjectManagement
dc.titleกระบวนการจัดทำรายละเอียดโครงการและการบริหารจัดการโครงการศูนย์ชุมชนแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาศูนย์ชุมชนบึงพระรามเก้าและชุมชนบึงพระรามเก้าพัฒนาen_US
dc.title.alternativeTHE PROCESS OF PROGRAMING AND MANAGEMENT OF PARTICIPATORY-AND SUSTAINABLE-BASED COMMUNITY CENTER: A CASE STUDY OF BUENG PHRA RAM 9 AND BUENG PHRA RAM 9 PATTANA COMMUNITY CENTERen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpreechaya.s@chula.ac.then_US
dc.email.advisorKundoldibya.P@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1324-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5673329525.pdf13.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.