Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46592
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Piyanan Taweethavonsawat | en_US |
dc.contributor.advisor | Sudchit Chungpivat | en_US |
dc.contributor.author | Koemseang Nhuong | en_US |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-19T03:41:03Z | |
dc.date.available | 2015-09-19T03:41:03Z | |
dc.date.issued | 2014 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46592 | |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014 | en_US |
dc.description.abstract | Canine vector-borne blood parasites (CVBBPs) are considered as blood parasitic infection in dogs which is transmitted by vectors. The objective of this study is to survey blood parasites of dogs in the plain region Cambodia by using conventional and molecular methods to confirm intracellular parasites from the suspected samples. The study was carried out from November 2014 to February 2015. The total of 444 dogs was found only 5 infected dogs (1.13%) with a low parasitemia and low parasitic infection including Dirofilaria immitis (0.45%), Brugia pahangi (0.22%) were found in Prey Veng and Kompong Chhnang province by Buffy coat stained blood smear with giemsa staining and acid phosphatage activity confirmation, and followed by B. canis (0.22%) was collected from a private clinic, Phnom Penh, and co-infection of Ehrlichia canis with Anaplasma platys (0.22%) was indicated in Takeo by Buffy coat stained blood smear staining and PCR confirmation. Moreover, three vectors, Ctenocephalides canis, Rhipicephalus sanguineus and Heterodoxus spiniger, affecting dogs were also found in 62.8%, 18.5% and 12.2%, respectively. C. canis was the most common presence than tick and lice in our areas. Therefore, this result may indicate that there is low parasitemia or low of tick transmission. Certainly, the prevalence of parasitic case infections may change if other diagnostic methods with a higher sensitivity, specificity and accuracy, e.g. molecular methods. However, it is the first investigation of CVBBPs. It is expected to develop a better understanding in diagnostic techniques and improving knowledge the pet owners, veterinarians to beware of accretion regarding CVBBPs infection in Cambodia. | en_US |
dc.description.abstractalternative | โรคปรสิตในเลือดของสุนัขเป็นโรคที่มีความสำคัญโรคหนึ่งโดยมีแมลงเป็นพาหะนำโรค จุดประสงค์การศึกษาครั้งนี้เพื่อสำรวจการติดปรสิตในเลือดของสุนัขที่มีแมลงและเห็บเป็นพาหะนำโรคในเขตพื้นที่ราบต่ำ ประเทศกัมพูชา โดยตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีที่นิยมใช้โดยทั่วไป และตรวจวินิจฉัยยืนยันด้วยวิธีทางอณูชีวโมเลกุล ทำการเก็บตัวอย่างเลือดสุนัขระหว่าง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2557 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 จำนวนทั้งสิ้น 444 ตัวอย่างในเขตอำเภอตะแกว กัมปุงสะปือ กัมปุงชะหนัง เปรเหวง สวายเรียง และคลินิกสัตวแพทยท์ในกรุงพนมเปญ ผลการสำรวจพบสุนัขติดปรสิตในเลือดจำนวน 5 ตัวอย่างคิดเป็น 1.13% ได้แก่ Dirofilaria immitis 0.45%, Brugia pahangi 0.22% ในจังหวัด เปรเหวง และกำปงชะหนัง ตามลำดับ ซึ่งตรวจโดยวิธีการทำแผ่นเลือดบางจากชั้นบัฟฟี่ โค้ด ย้อมด้วยสี 10% ยิมซ่า และตรวจวินิจฉัยยืนยันด้วยการย้อมเอมไซม์ แอซิด ฟอสฟาเตส Babesia canis 0.22% จากคลินิกสัตว์ในกรุงพนมเปญ และการติดเชื้อร่วมระหว่าง Ehrlichia canis และ Anaplasma platys 0.22%.จากสุนัขในจังหวัดตะแกว โดยการตรวจโดยวิธีวิธีการทำแผ่นเลือดบางจากชั้นบัฟฟี่ โค้ด ย้อมสี และตรวจวินิจฉัยยืนยันด้วยวิธีทางอณูชีวโมเลกุล นอกจากนี้ยังตรวจพบพาหะนำโรค ได้แก่ หมัดสุนัข (Ctenocephalides canis) เห็บสุนัข (Rhipicephalus sanguineus) และ เหาสุนัข (Hetrodoxus spiniger) คิดเป็น 62.8%, 18.5% และ 12.2% ตามลำดับ โดยจะพบหมัดสุนัขมากกว่าเห็บสุนัข และเหาสุนัข จากผลศึกษาในครั้งนี้จะเห็นว่าสุนัขติดเชื้อปรสิตในเลือดค่อนข้างน้อย ถ้าหากมีการสำรวจการติดโรคปรสิตในเลือดสุนัขด้วยการตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีอื่นที่มีความไว และจำเพาะมากกว่า เช่นวิธีทางอณูชีวโมเลกุล อาจพบอัตราการติดโรคเปลี่ยนแปลงไปก็ได้ อย่างไรก็ตามการศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาครั้งแรกเกี่ยวกับโรคปรสิตในเลือดที่มีพาหะนำโรคในประเทศกัมพูชาซึ่งผลการศึกษาที่ได้สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัย และเสริมสร้างองค์ความรู้ ให้แก่ผู้เลี้ยงสัตว์ สัตวแพทย์ ให้มีความตระหนักถึงโรคปรสิตในเลือดของสุนัขในประเทศกัมพูชา | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.388 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Dogs -- Parasites -- Cambodia | |
dc.subject | Parasitic diseases -- Cambodia | |
dc.subject | Babesiosis | |
dc.subject | Blood -- Parasites | |
dc.subject | สุนัข -- ปรสิต -- กัมพูชา | |
dc.subject | โรคเกิดจากปรสิต -- กัมพูชา | |
dc.subject | โรคบาบีเซีย | |
dc.subject | เลือด -- ปรสิต | |
dc.title | A SURVEY OF CANINE VECTOR-BORNE BLOOD PARASITES IN THE PLAIN REGIONS OF CAMBODIA | en_US |
dc.title.alternative | การสำรวจปรสิตในเลือดสุนัขที่มีพาหะนำโรคในเขตพื้นที่ราบของประเทศกัมพูชา | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Veterinary Pathobiology | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Piyanan.T@Chula.ac.th | en_US |
dc.email.advisor | Sudchit.c@chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.388 | - |
Appears in Collections: | Vet - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5675332731.pdf | 4.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.