Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนภวรรณ ตันติเวชกุลen_US
dc.contributor.authorนราทิพย์ ณ ระนองen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:41:20Z
dc.date.available2015-09-19T03:41:20Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46616
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ความเสี่ยง และความตั้งใจใช้บริการธนาคารผ่านโมบายแบงก์กิ้งแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภค โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ที่มีบัญชีธนาคารเป็นของตนเอง และเป็นผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนจำนวนทั้งสิ้น 400 คน ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้สถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหูคุณ ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ผู้บริโภคมีการเปิดรับข่าวสารอยู่ในระดับต่ำ มีการรับรู้ความเสี่ยงอยู่ในระดับปานกลาง และมีความตั้งใจในใช้บริการอยู่ในระดับสูง 2) การรับรู้ความเสี่ยงของผู้บริโภคมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการธนาคารผ่านโมบายแบงก์กิ้งแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภค โดยมีความสัมพันธ์กันในทิศทางตรง กันข้าม 3) การเปิดรับข่าวสารไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความเสี่ยง 4) การรับรู้ความเสี่ยงของผู้บริโภคด้านความปลอดภัยเป็นความเสี่ยงด้านที่ส่งผลกระทบต่อความตั้งใจใช้บริการธนาคารผ่านโมบายแบงก์กิ้งแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภคมากที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeThis survey research aimed to explore consumers’ information exposure, perceived risks and intention to use mobile banking application in Thailand. By using questionnaires, the data were collected from 400 respondents, aged 15 years old, use smartphone and have own bank accounts. Correlation coefficient and multiple regression were employed for data analysis. The results of this research are as follows: 1) The consumers have expressed a high level of intention to use; moderate level of perceived risk and low level of information exposure toward mobile banking application. 2) There was no significant relationship between consumers’ information exposure and perceived risk. 3) There was a negative significant relationship between consumers’ perceived risk and intention to use. 4) Perceived security risk was the most important factor of consumers’ intention to use.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1357-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสาร
dc.subjectความเสี่ยง
dc.subjectบริการธนาคารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่
dc.subjectInformation behavior
dc.subjectRisk
dc.subjectBanks and banking, Mobile
dc.titleการเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ความเสี่ยง และความตั้งใจใช้บริการธนาคารผ่านแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคen_US
dc.title.alternativeINFORMATION EXPOSURE, PERCEIVED RISK AND CONSUMERS INTENTION TO USE MOBILE BANKING APPLICATIONen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornapawan.t@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1357-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5684673128.pdf4.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.