Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46815
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เนาวนิตย์ สงคราม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2015-10-13T03:46:44Z | - |
dc.date.available | 2015-10-13T03:46:44Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.other | ค 15 016236 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46815 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการรายงานผลของการศึกษาเรื่อง ระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิงบนสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือนจริงเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาองค์ประกอบและขั้นตอนระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิงบนสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือนจริงเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา 2. เพื่อสร้างระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิงบนสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือนจริงเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา 3. เพื่อศึกษาผลการใช้ระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิงบนสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือนจริงเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา 4. เพื่อนำเสนอระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิงบนสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือนจริงเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยและพัฒนา (Research and Development) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิงบนสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือนจริงเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา จำนวน 5 ท่าน และนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2555 ภาคการศึกษาปลาย จำนวน 30 คน ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา 2726397 การวิเคราะห์หลักสูตรและสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1.แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ของ Torrance 2. แผนกำกับกิจกรรมการเรียนรู้ 3. แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อระบบฯ วิเคราะห์สถิติด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าทีผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และมีความพึงพอใจต่อระบบดังกล่าวในระดับมาก ระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิงบนสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือนจริงเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. เทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้ 2. บทบาทผู้เรียน 3.บทบาทผู้สอน 4. การควบคุมและการกำกับตนเอง 5.การประเมินผล และขั้นตอน 8 ขั้นตอน มีดังนี้ 1.การเตรียมความพร้อมผู้เรียน 2. การค้นหา วัตถุประสงค์ 3. การค้นหาความจริง 4. การค้นหาแนวคิด 5. การค้นหาแนวทางการแก้ปัญหา 6. การสร้างผลงาน 7. การประเมินผลงาน 8. การยอมรับผลงาน | en_US |
dc.description.abstractalternative | This paper is a report on the findings of a study conducted on e–learning system in virtual learning environment to develop creative thinking for learners in higher education. The purposes of this research were 1. to investigate e–learning system in virtual learning environment to develop creative thinking for learners in higher education. 2. to create e–learning system in virtual learning environment to develop creative thinking for learners in higher education. 3. to study the results of e–learning system in virtual learning environment to develop creative thinking for learners in higher education. 4. to present e–learning system in virtual learning environment to develop creative thinking for learners in higher education. The methodology of this study was R&D research. The subjects consisted of five specialists in e–learning system in virtual learning environment and creative thinking and thirty undergraduate students registered in 2726397 analysis of curriculum and information and communication technology subject areas, faculty of Education, Chulalongkorn University in the academic year of 2013 by purposive sampling . The research instruments were a creative assessment, lesson plan, and an opinion questionnaire. The data was statistically analyzed using mean, standard deviation, and t –test. The research findings discovered e–learning system in virtual learning environment to develop creative thinking for learners in higher education were the specialists in e–learning system in virtual learning environment to develop creative thinking for learners in higher education consisted of five components and eight steps and a t-test comparison of post-test scores and pretest scores of the samples showed statistically significant difference at. 05 level between creative thinking and satisfy with the systems in high level . E–learning system in virtual learning environment to develop creative thinking for learners in higher education consisted of five factors: 1) Technology for supporting learning 2) Role of learners 3) Role of Instructors 4) Self-direct 5) Evaluation and eight processes: 1) Preparation of the learners 2) Identifying objectives 3) Finding the fact 4) Finding the ideas 5) Finding problem solutions 6) Creating productivity 7) Evaluation 8) Accepting productivity. | en_US |
dc.description.sponsorship | เงินอุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน ปี 2556 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การเรียนรู้ | en_US |
dc.subject | ความคิดสร้างสรรค์ | en_US |
dc.subject | การเรียนการสอนผ่านเว็บ | en_US |
dc.title | ระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิงบนสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือนจริงเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา : รายงานผลการวิจัย | en_US |
dc.title.alternative | E-learning system in virtual learning environment to develop creative thinking for learners in higher education | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | noawanit.s@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Edu - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
naowanit_so_2556.pdf | 4.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.