Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46833
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | สมชาย ตั้งจิตเพิ่มความดี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2015-10-21T09:41:12Z | - |
dc.date.available | 2015-10-21T09:41:12Z | - |
dc.date.issued | 2531 | - |
dc.identifier.isbn | 9745691534 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46833 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | en_US |
dc.description.abstract | โครงสร้างบางชนิดที่มีความชะลูด (slender) หรือมีความอ่อน (flexibility) มากเช่นสะพานช่วงยาว หอสูงโทรคมนาคม (telecommunication tower) จะเกิดการเคลื่อนที่มากภายใต้น้ำหนักบรรทุกกระทำ โดยที่โครงสร้างอาจจะยังอยู่ในช่วงอิลาสติก การวิเคราะห์โครงสร้างดังกล่าวโดยใช้วิธีวิเคราะห์เชิงเส้น จะให้ผลลัพธ์ที่คลาดเคลื่อนไปพอสมควร การวิจัยนี้จึงได้ศึกษาการวิเคราะห์ไม่เชิงเส้นโดยพิจารณาเฉพาะพฤติกรรมไม่เชิงเส้นทางเรขาคณิต (geometric nonlinearity) ในการคำนวณหาสติฟเนสของแต่ละชิ้นส่วน ใช้วิธีการของ Jennings ซึ่งสร้างสมการในพิกัดของออยเลอร์ (Euler coordinates) โดยการสมมุติการโก่งตัวของชิ้นส่วนคานอยู่ในรูปพหุนามกำลังสามเนื่องจากโปรแกรมการวิเคราะห์โครงสร้างประเภทนี้ในต่างประเทศมีราคาแพง และมักเป็นโปรแกรมทั่วไปที่มีขนาดใหญ่ใช้กับเครื่องหลัก (mainframe) ซึ่งไม่สะดวกสำหรับการใช้งานในสำนักงานออกแบบทั่วไป ในงานวิจัยนี้จึงมุ่งที่จะสร้างโปรแกรมสำหรับการวิเคราะห์ไม่เชิงเส้นทางเรขาคณิต เพื่อใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการวิเคราะห์ออกแบบโครงสร้างที่มีความสำคัญ จากตัวอย่างที่ทำการวิเคราะห์ซึ่งมีคานยื่น โครงข้อแข็งพอร์ทอล และคานโค้ง พบว่าได้ผลลัพธ์ที่ใกล้เคียงกับการวิจัยอื่น ๆ ที่ผ่านมามาก โดยที่ค่าการเคลื่อนที่ก่อนเกิดการสูญเสียเสถียรภาพผิดพลาดเพียง 3% ถึงแม้ว่าในช่วงที่โครงสร้างเกิดการสูญเสียเสถียรภาพ จะไม่สามารถติดตามผลของการเคลื่อนที่ได้ก็ตาม แต่หลังจากนั้นเมื่อโครงสร้างมีสติฟเนสคืนกลับมา ก็สามารถให้คำตอบที่ใกล้เคียงเหมือนเดิม ทั้งนี้โครงสร้างจำลองที่ใช้ต้องแบ่งจำนวนเอเลเมนต์ (element) ให้ละเอียดพอประมาณและชั้นน้ำหนักบรรทุกกระทำก็ต้องมีขนาดไม่โตเกินไป | en_US |
dc.description.abstractalternative | Some types of structures which are very slender of flexible such as long span bridges, telecommunication towers, undergo large deflection with the material still stressed in the elastic range. Linear analyses of these structures would not suffice, and sufficiently inaccurate solutions would be obtained. In this research only the geometrically nonlinear behavior is considered. The tangent stiffness of the straight beam element developed by Jennings in Euler coordinates is employed, with the deflection shape assumed to be a third order polynomial. Since existing nonlinear analysis programmes abroard are expensive and usually large general purpose programmes which are not suitable for use in typical design offices, this research was aimed at developing a geometric nonlinear analysis programme, for use on microcomputers, which be useful for analyses and designs of important structures. From the analyses of example problems of a cantilever beam, a portal frame and two arches, it is found that the solutions obtained in this study are in good agreement with those by other researchers. The deflection of structures, prior to the occurance of instability, differ by about 3 % from the accurate values. Although the post-buckling load-deflection curve cannot be traced, but after the stiffness of structure is regained, quite accurate results are still obtained, provided that the structural model used contains sufficient number of elements and also the size of the load step is small enough. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ทฤษฎีไม่เชิงเส้น | en_US |
dc.subject | ไมโครคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.subject | Nonlinear theories | en_US |
dc.subject | Microcomputers | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ไม่เชิงเส้นทางเรขาคณิตของโครงข้อแข็งระนาบ ด้วยไมโครคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.title.alternative | Geometrically nonlinear analysis of plane frames by microcomputer | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somchai_tu_front.pdf | 8.97 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_tu_ch1.pdf | 3.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_tu_ch2.pdf | 5.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_tu_ch3.pdf | 4.55 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_tu_ch4.pdf | 3.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_tu_ch5.pdf | 7.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_tu_ch6.pdf | 2.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_tu_back.pdf | 4.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.