Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46883
Title: Physiological roles of gamma-aminobutyric acid (GABA) on isolated human fallopian tube smooth muscle activities
Other Titles: บทบาททางสรีรวิทยาของกรดแกมมาอะมิโนบิวทีริคต่อการทำงาน ของกล้ามเนื้อเรียบท่อนำไข่ของคนที่แยกออกมา
Authors: Surisak Prasarnpuh
Advisors: Bungorn Chomdej
Pavich Tongroach
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Bungorn.Ch@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Smooth muscle
Fallopian tubes
กล้ามเนื้อเรียบ
ท่อนำไข่
Issue Date: 1991
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: To determine whether GABA affects the contractile response of the longitudinal human fallopian tube smooth muscles, if so, which receptor is responsible for the contractility of the tube and what the mechanism of the action is, therefore studying of the isolated human fallopian tube under isometric condition was established. GABA and related substances, muscimol and baclofen did not alter the response to electrical transmural stimulation and exogenous norepinephrine. In contrast, GABA and its agonists neither affected the frequency and amplitude of spontaneous contraction nor under a combination of adrenergic and cholinergic blockers conditions. Whereas ACh produced the increasing of the frequencies of contraction. Forces of contraction produced by ACh-induced was augmented by 10 -3 M GABA and 10-5 M muscimol, but not baclofen, the values of per cent contraction (mean ± 2SE) being 143.74±36.24 and 155.08 ± 2.60 rise in ACh-induced contraction, respectively. Pretreatment of tissues with 10-5 M bicuculline antagonized the enhancing effect of GABA as well as that of muscimol. These results suggested that GABA presumably is a facilitatory modulator of parasympathetic neurotransmission, not of sympthetic neurotransmission and that the effect is exerted by activation through GABA-A receptors. The precise mechanisms of the modulatory effect of GABA remain to be elucidated.
Other Abstract: ได้ศึกษาถึงผลของ GABA ต่อการทางานของกล้าม เนื้อเรียบท่อน้ำไข่ของคนและชนิดของตัวรับ ที่ทำให้เกิดการตอบสนอง อีกทั้งศึกษาว่าผลที่เกิดขึ้นนี้เป็นผลโดยตรงของ GABA ต่อกล้าม เนื้อ เรียบท่อน้ำ ไข่หรือเป็นผลจากการ เป็นตัวควบคุมร่วมผ่านทางสารสื่อประสาทของระบบประสาทออโตโนมิค โดยทำการทดลองวัดการหดตัว-คลายตัวแบบไอโซเมตริคในหลอดทดลอง ผลการศึกษาพบว่า GABA ไม่มีผลตอการ หดตัว-คลายตัวของกล้าม เนื้อ เรียบท่อน้ำไข่ในภาวะที่มีอดรีเนอร์จิค บลอกเกอร์และโคลิเนอร์จิคบลอกเกอร์ ร่วมกัน การศึกษาเกี่ยวกับสารสื่อประสาทของระบบซิมพาเธติค พบว่า GABA ไม่สามารถยับยั้งผลของการกระตุ้น เนื้อเยื่อด้วยไฟฟ้าและผลของนอร์อิปิเนฟริน ซึ่งให้ผลยับยั้งการหดตัวของท่อน้ำไข่ได้ ส่วนการ ศึกษาเกี่ยวกับสารสื่อประสาทของระบบพาราซิมพาเธติคพบว่า อซีติลโคลีนทำให้ความถี่ของการหดตัวของ เนื้อเยื่อเพิ่มมากขึ้น GABA และ muscimol สามารถ เสริมผลของอซีติลโคลีนทำให้ความแรงของการหดตัว เพิ่มขึ้น แต่ baclofen ไม่ เสริมผลของการหดตัวนี้ การเสริมผลของอซีติลโคลีนโดย GABA และ muscimol ถูกยับยั้งได้โดย bicuculline ผลการศึกษาในครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า GABA ไม่มีผลโดยตรงต่อการทำงานของกล้ามเนื้อเรียบ ท่อน้ำไข่ แต่อาจแสดงผลทางอ้อมผ่านทางการควบคุมร่วมกับระบบประสาทพาราซิมพาเธติคโดยผ่านตัวรับ ชนิดเอ ซึ่งคาดว่าอยู่บนเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ กลไกการเสริมผลของอซีติลโคลีนของ GABA น่าจะต้องมีการศึกษาต่อไป
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1991
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Physiology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46883
ISBN: 9745795488
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surisak_pr_front.pdf7.94 MBAdobe PDFView/Open
Surisak_pr_ch1.pdf4.1 MBAdobe PDFView/Open
Surisak_pr_ch2.pdf6.1 MBAdobe PDFView/Open
Surisak_pr_ch3.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open
Surisak_pr_ch4.pdf14.71 MBAdobe PDFView/Open
Surisak_pr_ch5.pdf7.4 MBAdobe PDFView/Open
Surisak_pr_back.pdf10.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.