Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46896
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กรรณิการ์ นลราชสุวัจน์ | - |
dc.contributor.author | ภัทรพร ว่องเจริญ | - |
dc.contributor.author | ภาณิชญาดา ทองคำสุข | - |
dc.contributor.author | ภาณุเดช สายแสน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2015-11-03T02:13:07Z | - |
dc.date.available | 2015-11-03T02:13:07Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.other | PSP5721 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46896 | - |
dc.description | โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสัมพันธภาพในครอบครัวต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตัดสินใจเลือกอาชีพของนักศึกษามหาวิทยาลัย โดยกลุ่มตัวอย่างจำนวน 191 คน ตอบแบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัวที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นและแบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตัดสินใจเลือกอาชีพ (บุญฑริกา ลิ่วเฉลิมวงศ์, 2556) และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิเคราะห์ พบว่า องค์ประกอบด้านการสื่อสารของครอบครัว การแสดงความรักของสมาชิกในครอบครัว การทำหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว มีสหสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตัดสินใจเลือกอาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แต่องค์ประกอบด้านการใช้เวลาในครอบครัว ไม่มีค่าสหสัมพันธ์กับการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตัดสินใจเลือกอาชีพ และสัมพันธภาพในครอบครัวทั้ง 4 ด้านสามารถร่วมกันทำนายความแปรปรวนของการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตัดสินใจเลือกอาชีพ ได้ร้อยละ 12 แต่องค์ประกอบด้านการปฏิบัติตามหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวเท่านั้น ที่สามารถทำนายการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตัดสินใจเลือกอาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the influence of family relationship on career decision making self-efficacy of undergraduate students. The instruments used were the Family Relationship questionnaire, developed by researchers; and Career Decision Making Self-efficacy, developed by Lewchalermwongse (2013). Data were collected from 191 undergraduate university students and analyzed by using Pearson product-moment correlation coefficient and Multiple regression. The results were as follows: “family communication”, “showing love to family”, “role and performance of family member” were significantly positive correlated with career decision making self-efficacy at .01 level. There was no correlation between “spending time with family” and Career Decision Making Self-efficacy. Four factors of Family Relationship can 12% co-predict variance of career decision making self-efficacy. But only “role and performance of family member” significantly predicts career decision making self-efficacy at .05 level. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1377 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การรับรู้ตนเอง | en_US |
dc.subject | การแนะแนวอาชีพ | en_US |
dc.subject | ความสนใจทางอาชีพ | en_US |
dc.subject | Self-perception | en_US |
dc.subject | Vocational guidance | en_US |
dc.subject | Vocational interests | en_US |
dc.title | อิทธิพลของสัมพันธภาพในครอบครัวต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตัดสินใจเลือกอาชีพของนักศึกษามหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title.alternative | INFLUENCE OF FAMILY RELATIONSHIP ON CAREER DECISION MAKING SELF-EFFICACY OF UNDERGRADUATE STUDENTS | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | kannikar.n@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.1377 | - |
Appears in Collections: | Psy - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
pattaraporn_wo.pdf | 4.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.