Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46923
Title: การผลิตและผสมเทียมนางพญาผึ้งโพรง (Apis cerana fabricius)
Other Titles: Production and artificial insemination of queen bees (Apis Cerana Fabricius)
Authors: สุรีรัตน์ โพธิโชติ
Advisors: สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ
จริยา เล็กประยูร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Chariya.L@Chula.ac.th
Subjects: ผึ้งโพรง
Apis cerana
Issue Date: 2532
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การผลิตนางพญาผึ้งโพรง (Apis cerana Fabricius) โดยใช้วิธีการย้ายตัวอ่อน พบว่ามี เปอร์เซ็นต์อยู่รอดของตัวอ่อนที่ผึ้งงานยอมรับและเจริญเป็นผึ้งนางพญาได้เฉลี่ย 92% สำหรับการผสมเทียมผึ้งนางพญาโดยใช้เครื่องมือเก็บเชื้ออสุจิจากผึ้งตัวผู้ และนำไปผสมกับผึ้งนางพญาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ปรากฏว่ามีนางพญาที่สามารถอยู่รอดหลังจากที่ผสมเทียม 2 สัปดาห์ 66%และที่สามารถอยู่รอดจนกระทั่งวางไข่เป็นผึ้งงานได้มี 30% ต่อมาได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบผลการวางไข่ของนางพญาผึ้งโพรง 3 กลุ่ม คือ 1) นางพญาที่เกิดและผสมพันธุ์ตามธรรมชาติ. 2) นางพญาที่ผลิตและผสมพันธุ์ตามธรรมชาติ, 3) นางพญาที่ผลิตและผสมเทียม ปรากฏว่าผลการวางไข่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) อย่างไรก็ตามวิรีการผสมเทียมไม่เป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนที่ของเชื้ออสุจิเข้าสู่ถุงเก็บอสุจิ เนื่องจากจำนวนเชื้ออสุจิชองนางพญาผึ้งโพรงที่ผลิตและผสมพันธุ์ตามธรรมชาติ กับนางพญาที่ผลิตและผสมเทียม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P > 0.05)
Other Abstract: The queens of Apiscerana Fabricius were produced by grafting larvae. The result showed that 92% of transplanted larvae were accepted and developed to be queens. The queens were inseminated with semen which were collected from drones by modified artificial insemination apparatus. The result showed that 68% of them survived after inseminating for 2 weeks and 30% were survived until they laid eggs and emerged to be workers. Egg laying activity of the queens was compared within 3 groups; 1) natural queens, 2) rearing queens with naturally mated, 3) rearing queens with artificially inseminated. The result showed that there was significant difference in each group (P < 0<05>. However, no significant difference was found in the amount of spermatozoa in the spermatheca between rearing queens with naturally mated and rearing queens with artificially in eminabed (P > 0.05).
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ชีววิทยา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46923
ISBN: 9745760269
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sureerat_po_front.pdf9.58 MBAdobe PDFView/Open
Sureerat_po_ch1.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open
Sureerat_po_ch2.pdf12.6 MBAdobe PDFView/Open
Sureerat_po_ch3.pdf6.81 MBAdobe PDFView/Open
Sureerat_po_ch4.pdf10.88 MBAdobe PDFView/Open
Sureerat_po_ch5.pdf5.91 MBAdobe PDFView/Open
Sureerat_po_ch6.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open
Sureerat_po_back.pdf5.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.