Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47162
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูพงศ์ ปัญจมะวัต-
dc.contributor.authorนิสารัตน์ ชาธงชัย-
dc.contributor.authorนิสารัตน์ อินทรประสาท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2016-02-16T10:06:40Z-
dc.date.available2016-02-16T10:06:40Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.otherPsy 144-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47162-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2011en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการตั้งใจเรียนโดยใช้ตัวแบบและการเสริมแรง โดยการเปรียบเทียบคะแนนความถี่เฉลี่ยพฤติกรรมการตั้งใจเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการตั้งใจเรียน และเปรียบเทียบระหว่างนักเรียนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการตั้งใจเรียนและกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรม พร้อมทั้งสนใจความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อครูผู้สอนในระยะที่ได้รับโปรแกรม โดยศึกษากลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 โรงเรียนปลูกจิต เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 คน ซึ่งมีขั้นตอนในการทดลอง 4 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมการ ขั้นเก็บข้อมูลก่อนการทดลอง ขั้นทดลอง และขั้นเก็บข้อมูลหลังการทดลอง กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการตั้งใจเรียน จะได้ฟังนิทานที่ใช้ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการตั้งใจเรียน จำนวน 8 ครั้งจากผู้วิจัย และได้รับการเสริมแรงทางสังคมจากครูผู้สอน ผลการวิจัย พบว่า 1.คะแนนความถี่เฉลี่ยพฤติกรรมการตั้งใจเรียนของกลุ่มทดลองหลังจากได้รับโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการตั้งใจเรียน (M = 9.15, SD = 1.37) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (M = 7.98, SD = 2.13) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 2.01, p < .05) 2.ก่อนการได้รับโปรแกรม คะแนนความถี่พฤติกรรมการตั้งใจเรียนของกลุ่มทดลอง (M = 7.98, SD = .29) และกลุ่มควบคุม (M = 8.13, SD = .58) ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = .52, p > .05) หลังจากได้รับโปรแกรม คะแนนความถี่พฤติกรรมการตั้งใจเรียนของกลุ่มทดลอง (M = 9.15, SD = .61) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 8.4, SD = .48) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 2.17, p < .05) 3.ค่าความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อครูผู้สอนของกลุ่มทดลองในช่วงก่อนการทดลอง (M = 2.56, SD = .24) กับช่วงหลังการทดลอง (M = 2.64, SD = .20) แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 2.23, p < .05)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was compare about the attention learning behavior through modeling and reinforcement between experimental group which listened about attention learning strategies related stories and control group which did not listen this stories. Participants were 60 Prathom third students from Prookjit Primary School (30 students from each group). 4 phases of experimental process: preparation phase, pre-test phase, treatment phase and post-test phase. Participants in the experimental group listened stories 8 times. The results indicated that: 1. Participants in the experimental groups had mean of attention learning behavior in post-test phase (M = 9.15, SD = 1.37) greater than the pre-test phase (t = 2.01, p < .05) significantly. 2. There is no significant difference between the experimental group (M = 7.98, SD = .29) and control group (M = 8.13, SD = .58) mean of attention learning behavior in pre-test phase (t = .52, p > .05). However, In post-test phase, participants in the experimental group (M = 9.15, SD = .61) had mean of attention learning behavior greater than control group (M = 8.4, SD = .48) significantly (t = 2.17, p < .05). 3. There is a significant difference between the experimental group in post-test phase (M = 2.64, SD = .20) and pre-test phase (M = 2.56, SD = .24) mean of student’s satisfaction significantly (t = 2.23, p < .05)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพฤติกรรมการเรียนen_US
dc.subjectความตั้งใจen_US
dc.subjectการเสริมแรง (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectการพัฒนาการศึกษาen_US
dc.subjectLearning behavioren_US
dc.subjectAttentionen_US
dc.subjectReinforcement (Psychology)en_US
dc.titleโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการตั้งใจเรียนโดยใช้ตัวแบบและการเสริมแรงในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.title.alternativeProgram development for attention learning behavior of prathom third students through modeling and reinforcementen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorchupong.p@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nisarat_ch.pdf2.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.