Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47233
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง-
dc.contributor.authorสุรพล รังสฤษติกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-03-08T01:38:06Z-
dc.date.available2016-03-08T01:38:06Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745684708-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47233-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความลึกจากภาพ 2 มิติของนักเรียนปกติและนักเรียนหูหนวกในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้ตัวชี้ความลึก 3 แบบ ตัวชี้ความลึกแบบอาศัยแนวเส้น แบบอาศัยขนาด และแบบอาศัยการบังกัน ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนปกติ รับรู้ความลึกจากภาพ 2 มิติ โดยใช้ตัวชี้ความลึกแบบอาศัยแนวเส้น แบบอาศัยขนาด และแบบอาศัยการบังกัน มีผลแตกต่างกัน และตัวชี้ความลึกแบบอาศัยขนาด ทำให้เกิดการรับรู้ได้ดีที่สุด อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2. นักเรียนหูหนวก รับรู้ความลึกจากภาพ 2 มิติ โดยใช้ตัวชี้ความลึกแบบอาศัยแนวเส้น แบบอาศัยขนาด และแบบอาศัยการบังกัน มีผลแตกต่างกัน และตัวชี้ความลึกแบบอาศัยขนาด ทำให้เกิดการรับรู้ได้ดีที่สุด อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 3. นักเรียนปกติ รับรู้ความลึกจากภาพ 2 มิติ โดยใช้ตัวชี้ความลึกแบบอาศัยแนวเส้น แบบอาศัยขนาด และแบบอาศัยการบังกัน ได้ดีกว่านักเรียนหูหนวก อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare depth perception of two-dimensional pictures between normal students and deaf students of Prathom suksa two by means of 3 categories of depth cues: linear, size and overlap. Results were as follow: 1. The statistical significant difference between normal students’ depth perception of two-dimensional pictures by means of linear, size and overlap were found at .05, and the size yielded the best result. 2. The statistical significant difference between deaf students’ depth perception of two-dimensional pictures by means of linear, size and overlap were found at .05, and the size yielded the best result. 3. Normal students’ depth perception of two-dimensional pictures, by means of linear, size and overlap, were significantly better than that of deaf students’ at .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการรับรู้ทางสายตาen_US
dc.subjectการรับรู้ทางสายตาในเด็กen_US
dc.subjectการรับรู้ภาพen_US
dc.subjectเด็กหูหนวกen_US
dc.subjectVisual perceptionen_US
dc.subjectVisual perception in childrenen_US
dc.subjectPicture perceptionen_US
dc.subjectDeaf childrenen_US
dc.titleการเปรียบเทียบการรับรู้ความลึกจากภาพ 2 มิติ ที่มีตัวชี้ความลึกต่างกันของนักเรียนปกติและนักเรียนหูหนวก ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeA comparison of depth perception of two-dimensional pictures with different depth cues between normal students and deaf students of prathom suksa twoen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSugree.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surapol_ru_front.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open
Surapol_ru_ch1.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Surapol_ru_ch2.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open
Surapol_ru_ch3.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open
Surapol_ru_ch4.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open
Surapol_ru_ch5.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Surapol_ru_back.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.