Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47253
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนวัต ปุณยกนก | - |
dc.contributor.author | จิรารัช ลีลาวรรณศิลป | - |
dc.contributor.author | รัชนี ลีน้อย | - |
dc.contributor.author | อุ่นรัก สิริชัยตระกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2016-03-10T14:46:27Z | - |
dc.date.available | 2016-03-10T14:46:27Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.other | Psy 178 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47253 | - |
dc.description | โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2555 | en_US |
dc.description | A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2012 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสัมผัสกับธรรมชาติ ความเป็นเนื้อเดียวกันกับธรรมชาติ และการมีสุขภาวะในนิสิตระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2555 จำนวน 201 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบรายสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดการสัมผัสกับธรรมชาติ แบบวัดความเป็นเนื้อเดียวกันกับธรรมชาติ และดรรชนีชี้วัดสุขภาวะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอย ผลการวิจัยพบว่า 1. การสัมผัสกับธรรมชาติมีความสัมพันธ์กับการมีสุขภาวะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .281, p < .001) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยเท่ากับ .281 ซึ่งสามารถทำนายได้ ร้อยละ 7.9 2. ความเป็นเนื้อเดียวกันกับธรรมชาติสามารถทำนายการมีสุขภาวะได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .202, p < .01) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยเท่ากับ .202 ซึ่งสามารถทำนายได้ ร้อยละ 4.1 3. ความเป็นเนื้อเดียวกันกับธรรมชาติเป็นตัวแปรสื่ออย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างการสัมผัสกับธรรมชาติและการมีสุขภาวะที่ดี ตามเงื่อนไขการวิเคราะห์ตัวแปรส่งผ่านของ Baron และ Kenny (1986) | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the relationship among contact with nature, connectedness to nature, and well-being. Participants consisted of 201 Bachelor Degree in Chulalongkorn University. Instruments were Contact with nature scale, Connectedness to nature scale and WHO-Five Well-Being Index, Thai version. The data were analyzed by using correlation, simple regression and multiple regressions. Results show that: 1. Contact with nature of university students significantly and positively correlates with well-being (β = .281, p <.01) 2. Connectedness to nature of university students significantly and positively correlates with well-being (β = .202, p <.01) 3. This research can in no way address weighty issues about the mediating effect of connectedness to nature between contact with nature and well-being. Therefore, the standardized regression coefficient of connectedness to nature (the mediator variable) has non-significant effect of well-being (dependent variable). | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ธรรมชาติ -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | สุขภาวะ | en_US |
dc.subject | Nature -- Psychological aspects | en_US |
dc.subject | Well-being | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการสัมผัสกับธรรมชาติต่อสุขภาวะโดยมีความเป็นเนื้อเดียวกันกับธรรมชาติเป็นตัวแปรส่งผ่าน | en_US |
dc.title.alternative | Relationship between contact with nature and well-being : the mediating effect of connectedness to nature | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Psy - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
jirarat_le.pdf | 596.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.