Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดิเรก ศรีสุโข-
dc.contributor.authorสุรินทร์ อังกุรวิโรจน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-03-19T09:18:21Z-
dc.date.available2016-03-19T09:18:21Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.isbn9745842184-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47329-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการควบคุมความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 และอำนาจการทดสอบของสถิติทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบสเปียร์แมน และเพียร์สัน ของข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งใช้วิธีทดสอบความมีนัยสำคัญของสถิติทั้งสอง เมื่อประชากรที่ศึกษามีลักษณะการแจกแจงแบบปกติสองตัวแปร และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวแปรแต่ละคู่ในประชากรมีค่าเท่ากับ 0.0, 0.1 0.2, ..., 0.9 การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการทดลองด้วยเทคนิคมอนคิคาร์โลชิมูเลชั่นในการจำลองการทดลองด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อกลุ่มตัวอย่างมีขนาด 50, 100, 150, และ 200 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สถิติทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และเทียร์สัน สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ได้ทุกกรณีศึกษา 2. อำนาจการทดสอบของสถิติทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และเทียร์สัน มีอำนาจการทดสอบไม่แตกต่างกัน ทุกกรณีศึกษาen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the ability to control Type I error and power of test statistics for Spearman’s and Pearson’s correlation coefficients for the analysis of rating scale data which were determined with their statistical significances when the population studied in this research was the bivariate normal distribution, and the correlation coefficients of each pair of variables were 0.0, 0.1, 0.2, ..., 0.9. Monte Carlo Simulation technique was used in this study by simulating data through computer for the sample size of 50, 100, 150, 200. The findings could be summarized as follow; 1. The Spearman’s and Pearson’s test statistics correlation coefficients can control Type I error at any studied cases. 2. Power of test statistics for Spearman’s and Pearson’s correlation coefficients are not different at any studied cases.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์en_US
dc.subjectอำนาจการทดสอบen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์)en_US
dc.subjectสถิติทดสอบen_US
dc.subjectความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1en_US
dc.titleความสามารถในการควบคุมความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 และอำนาจการทดสอบของสถิติทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบสเปียร์แมนและเพียร์สัน สำหรับข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่าen_US
dc.title.alternativeAbility to control type I error, and power of test statistics for Spearman's and Pearson's correlation coefficients for rating scale dataen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDerek.s@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surin_un_front.pdf5 MBAdobe PDFView/Open
Surin_un_ch1.pdf6.24 MBAdobe PDFView/Open
Surin_un_ch2.pdf10.23 MBAdobe PDFView/Open
Surin_un_ch3.pdf6.2 MBAdobe PDFView/Open
Surin_un_ch4.pdf5.3 MBAdobe PDFView/Open
Surin_un_ch5.pdf3.35 MBAdobe PDFView/Open
Surin_un_back.pdf7.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.