Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47396
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกษร ธิตะจารี-
dc.contributor.authorโอภาส บุญครองสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-03-30T09:19:35Z-
dc.date.available2016-03-30T09:19:35Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745827177-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47396-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความคิดสร้างสรรค์ระหว่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชาศิลปศึกษาโดยการทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม กับการทำกิจกรรมเป็นรายบุคคล กลุ่มตัวอย่างประชากร เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ปีการศึกษา 2533 จำนวน 60 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน ได้แก่กลุ่มที่ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มและกลุ่มที่ทำกิจกรรมเป็นรายบุคคล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ของทอร์แรนซ์ ชนิดรูปภาพแบบ ก. ซึ่งใช้ความคิดสร้างสรรค์ทั้ง 4 ด้านคือความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดริเริ่มและความคิดละเอียดลออ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test แบบ Pooled Variance ผลจากการวิจัยพบว่า 1) คะแนนความคิดสร้างสรรค์จองนักเรียนที่ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มสูงกว่านักเรียนที่ทำกิจกรรมเป็นราบบุคคลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) คะแนนความคิดคล่องและความคิดยืดหยุ่นของนักเรียนทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .053) คะแนนความคิดริเริ่มและความคิดละเอียดลออของนักเรียนที่ทำกินกรรมเป็นกลุ่ม สูงกล่านักเรียนที่ทำกินกรรมเป็นรายบุคคลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the differences of creativity scores between Mathayom Suksa one students learning Art Education by group activity and by individual activity. The sample of this research were 60 Mathayom Suksa one students of the academic year 1990 from the Demonstration School Srinakharinwirot Umiversity, Patumwan Campus. The students were divided into two group; one group was comprise of 30 subjects who leaned by group activity, the other group was also comprise of 30 subjects but learned by individual activity. The research instrument was the Torrance Test Creative Thinking Figural Form A which measured creative thinking in four aspects: Fluency, Flexibility, Originality and Elaboration. The obtained data were analyzed in form of mean, standard deviation and t-test. The results of this research were: 1) the creativity scores of the students exposed to groups activity were statistically higher than those of the students exposed to individual activity. There were significant differences at the .05 level; 2) the Fluencey and the Flexibility scores of both group of students were not significantly different at the .05 level; and 3) the Originality and the Elaboration scores of the students exposed to group activity were higher than those of the students exposed to individual activity with the significant differences at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการเปรียบเทียบคะแนนความคิดสร้างสรรค์ ระหว่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชาศิลปศึกษาโดยการทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม กับการทำกิจกรรมเป็นรายบุคคลen_US
dc.title.alternativeA comparison of creativity score between mathayom suksa one students learning art education by group activity and individual activityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Opas_bo_front.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open
Opas_bo_ch1.pdf6.76 MBAdobe PDFView/Open
Opas_bo_ch2.pdf6.48 MBAdobe PDFView/Open
Opas_bo_ch3.pdf4.01 MBAdobe PDFView/Open
Opas_bo_ch4.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open
Opas_bo_ch5.pdf8.95 MBAdobe PDFView/Open
Opas_bo_back.pdf2.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.