Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47398
Title: | วิธีการเตรียมและขึ้นรูปอลูมินาเซรามิกสำหรับฉนวนหัวเทียน ด้วยวิธีโคลด์ไอโซสแททิกเพรสซิ่ง |
Other Titles: | Preparation and forming of alumina ceramic for spark plug insulator by cold isostatic pressing |
Authors: | สุรศักดิ์ ไวทยวงศ์สกุล |
Advisors: | เล็ก อุตตมะศิล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | หัวเทียน อะลูมินัม -- การขึ้นรูป อะลูมินัมออกไซด์ ฉนวนไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า Spark plugs Aluminum forming Aluminum oxide Electric insulators and insulation Electric resistance |
Issue Date: | 2538 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีจุดหมายเพื่อศึกษาผลของตัวแปร 2 ตัวที่เกี่ยวข้องกับการขึ้นรูปอลูมินาเซรามิก สำหรับฉนวนหัวเทียนด้วยวิธีโคลด์ไอโซสแททิกเพรสซิ่ง คือความดันในการขึ้นรูปและอุณหภูมิในการเผาที่มีต่อโครงสร้างและสมบัติต่างๆ อันได้แก่ความแข็งแรง,ความต้านทานไฟฟ้าและความแข็งแรงทางไดอิเลกตริก ผลการวิจัยพบว่า การเพิ่มความดันในการขึ้นรูป และ/หรือ อุณหภูมิในการเผาจะทำให้ผลิตภัณฑ์มีความหนาแน่นสูงขึ้นและปริมาณรูพรุนลดลง ซึ่งจะช่วยทำให้สมบัติต่างๆ ที่กล่าวมาดีขึ้น แต่ในทางตรงกันข้ามก็จะทำให้ขนาดของเกรนใหญ่ขึ้น ซึ่งจะทำให้สมบัติต่างๆ ดังกล่าวด้อยลงไปเช่นเดียวกัน ดังนั้นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุด จึงควรจะใช้ความดันในการขึ้นรูปที่ต่ำ ประมาณ 100 เมกะปาสกาล แล้วจึงเผาที่อุณหภูมิปานกลาง ประมาณ 1600 องศาเซลเซียส ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีความหนาแน่นสูงถึงร้อยละ 97.65 ของความหนาแน่นทางทฤษฎี, ปริมาณรูพรุนร้อยละ 2.564 และการดูดซึมน้ำร้อยละ 0.687 ในขณะที่ขนาดของเกรนโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ไมครอน |
Other Abstract: | The purpose of this investigation is to study effect of two factors, namely forming pressure and sintering temperature in producing alumina ceramic for spark plug insulator by cold isostatic pressing. These parameters which affect on microstructure and also certain properties such as strength, electric resistance and dielectric strength. The result of this research show that increasing pressure and/or sintering temperature will increase density and decrease porosity of product which render good properties. Increasing grain size will lower the properties. The suitable condition for the best quality of products will be low pressure approximately100 megapascal and 1600 celcius degree sintering temperature. At these condition, density will be 97.65 percent of theoretical density, porosity 2.564 percent, water absorption 0.687 and average grain size is approximate 3 micron. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | เทคโนโลยีเซรามิก |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47398 |
ISBN: | 9746328263 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Surasak_wa_front.pdf | 2.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_wa_ch1.pdf | 460.51 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_wa_ch2.pdf | 4.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_wa_ch3.pdf | 2.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_wa_ch4.pdf | 5.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_wa_ch5.pdf | 422.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_wa_back.pdf | 6.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.