Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมยศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.advisorศิริวัฒนา บัญชรเทวกุล-
dc.contributor.authorศศิพันธุ์ ณ สงขลา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-04-01T03:23:15Z-
dc.date.available2016-04-01T03:23:15Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746328492-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47426-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractได้พัฒนาฉากเปลี่ยนรังสีนิวตรอนชนิด สังกะสีซัลไฟด์(เงิน) สำหรับการถ่ายภาพด้วยนิวตรอนฉากที่พัฒนาขึ้นนี้ประกอบด้วย สารเรืองรังสี คือ สังกะสีซัลไฟด์ (เงิน) และสารดูดกลืนนิวตรอน คือ ลิเทียมเมตาบอเรต โดยมี ไอโซบิวทิล อาซิเทตและอะซิโตน เป็นสารยืดเหนี่ยว อัตราส่วนของส่วนประกอบทั้งสามคือ 10 : 15: 6 โดยน้ำหนัก แล้วฉีดพ่นลงบนแผ่นอะลูมิเนียมขนาด 10 ซม.x 12 ซม. เพื่อให้ได้ฉากที่มีความหนา 0.40 มม. ได้ทดสอบฉากเปลี่ยนรังสีนิวตรอนที่พัฒนาขึ้นโดยทำการถ่ายภาพด้วยนิวตรอนจากเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูวิจัย-1/ปรับปรุงครั้งที่ 1 (ปปว.-1/1) ซึ่งเดินเครื่องที่กำลัง 700 กิโลวัตต์ เปรียบเทียบภาพถ่ายกับฉากเรืองรังสีชนิด NE-426 และ Gd2o2s(Tb) รวมทั้งฉากโลหะแกโคลิเนียม นิวตรอนฟลักซ์และอัตราส่วนนิวตรอนต่อแกมมาที่ตำแหน่งถ่ายภาพเท่ากับ 1.5x105 นิวตรอนต่อตารางเซนติเมตรต่อวินาที และ 1.1x105 นิวตรอนต่อตารางเซนติเมตรต่อมิลลิเรนเกนท์ ตามลำดับ ภาพหลังการถ่ายภาพด้วยนิวตรอนโดยใช้ฉากที่พัฒนาขึ้นเป็นเวลา 10 นาที พบว่า ค่าความดำบนแผ่นฟิล์ม ความไวในการเกิดภาพและรีโซลูชันของภาพ เท่ากับ2,2.3x10-8 ต่อนิวตรอนต่อตารางเซนติเมตร และ 250 ไมครอน ตามลำดับ จากการทดสอบดังกล่าวปรากฎผลเป็นที่น่าพอใจยิ่งen_US
dc.description.abstractalternativeA zinc sulfide neutron converter screen is developed to be used for neutron radiography. The screen is composed of silver activated zinc sulfide [ZnS(Ag)] scintillator and lithium metaborate (LiBO2) while isotutyl acetate are used as the binder. The three components are mixed thoroughly with a ratio of 10:15:6 by weight. Then sprayed on to a 10 cm.x12 cm. aluminum plate to form a layer of 0.40 mm. thick. The screen has been tested at the neutron radiography facility at the TRIGA Mark III Thai Research Reactor (TRR-1/Ml) operating at 700 kW. The screen is also compared with an NE-426 and Gd2O2S(Tb) scintillating screens as well as a gadolinium foil screen. The neutron flux and the neutron to gamma ratio at the screen position are approximately 1.5x105n/cm2-s and 1.1x105n/cm2-mR respectively. For 10 minute exposure time, it is found that the radiographic density, sensitivity and resolution are approximately 2,2.13x108 l/n-cm2and 250 um respectively. The test results are found to be very satisfactory.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการถ่ายภาพด้วยนิวตรอนen_US
dc.subjectNeutron radiographyen_US
dc.titleการพัฒนาฉากสังกะสีซัลไฟด์(เงิน) เพื่อการถ่ายภาพด้วยนิวตรอนen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a ZnS (ag) screen for neutron radiographyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomyot.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSiriwattana.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasiphan_na_front.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Sasiphan_na_ch1.pdf289.11 kBAdobe PDFView/Open
Sasiphan_na_ch2.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open
Sasiphan_na_ch3.pdf866.39 kBAdobe PDFView/Open
Sasiphan_na_ch4.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open
Sasiphan_na_ch5.pdf345.47 kBAdobe PDFView/Open
Sasiphan_na_back.pdf454.05 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.